ปสชติ : ก. สละ, ปล่อย, ผลิต, ติดเข้าด้วย
มุจฺจติ : ก. พ้น, ปล่อย
โมเจติ : ก. พ้น, ปล่อย
ริญฺจติ : ก. ทอดทิ้ง, ละทิ้ง, ปล่อย
หีน : (วิ.) สละ, ละ, ทิ้ง, วาง, ปล่อย, เลิกถอน. หา จาเค, อิโน, ทีโฆ.
อุสฺสชฺชติ : ก. สละ, สลัด, ปล่อย
โอสฺสชติ : ก. สละ, ละ, เลิก, ปล่อย
จาค : (ปุ.) การสละ, การให้, การให้ปัน, การบริจาค, ความสละ, ฯลฯ. จชนํ จาโค. จชฺ หานิมฺหิ (สละ), โณ. แปลง ช เป็น ค หรือตั้งหา ธาตุในความสละ วาง ปล่อย ณ ปัจ. เทว๎ภาวะ หา แปลง หา เป็น จา แปลง ห ตัวธาตุเป็น ค. ส. ตฺยาค.
ปริโมเจติ : ก. ปล่อย, พ้น, ปลดเปลื้อง
มุญฺจติ : ก. ปล่อย, เปลื้อง, แก้
เขเปติ : ก. ปล่อยให้สิ้นไป (เวลาหรือสมบัติ), ให้เวลาล่วงเลยไป
จาเรติ : ก. ให้เที่ยวไป, ให้เป็นไป, ให้ซ่านไป, ปล่อยให้เที่ยวไป
เจโตวิวรณ : นป. การเปิดเผยซึ่งจิต, การปล่อยใจ
นิจฺฉรณ : นป. การปล่อยออก, การซ่านออก, การฟุ้งไป, การเปล่ง, การช่วยให้มีอิสระ
นิจฺฉรติ : ก. ปล่อยออก, สลัดออก, ซ่านออก, เปล่งออก, ฟุ้งไป, ออกจาก
นิจฺฉาเรติ : ก. ปล่อยออก, สลัดออก, เปล่งออก, พูด
นิสฺสฏ : กิต. ออกไปแล้ว, ปล่อยไปแล้ว
นิเสวิต : กิต. คบ, ติดตาม, ผ่อนผัน, ปล่อยตัว
ปฏิวาเปติ : ก. เปลื้อง, ปลดปล่อย, ชำระ
ปมชฺชติ : ก. ประมาท, มัวเมา, เลินเล่อ, เผลอสติ, ปล่อยปละละเลย; ลูบคลำ, ลูบไล้, ถู; เช็ด, ถูออก
ปมตฺต : ค. ผู้ประมาท, ผู้มัวเมา, ผู้เลินเล่อ, ผู้เผลอสติ, ผู้ปล่อยปละละเลย, ผู้เพิกเฉย
ปมุญฺจ : ป. การเปลื้อง, การปลดปล่อย
ปมุญฺจติ : ก. เปลื้อง, แก้, ปลดปล่อย; เปล่ง; สะบัด
ปมุตฺต : ค. ผู้ถูกปลดปล่อย, ผู้ถูกเหวี่ยง, ผู้ถูกสลัดไปแล้ว; ผู้หลุดพ้น, ผู้เป็นอิสระ
ปมุตฺติ : อิต. การปลดปล่อย, ความหลุดพ้น, ความเป็นอิสระ
ปโมกฺข : ป. การเปลื้อง, การปลดปล่อย, การเปล่ง, การหลั่งไหล; ความหลุดพ้น
ปโมจน : (นปุ.) การหลุด, การพ้น, การปลด, การเปลื้อง, การปล่อย, การแก้, การปลดเปลื้อง, การปลดปล่อย, ปปุพฺโพ, มุจฺ วิโมกฺเข, ยุ.
ปโมเจติ : ก. เปลื้อง, ปลดปล่อย, แก้
ปริมุตฺติ : อิต. ความพ้น, ความปลดปล่อย
ปสฏ : ค. ปล่อยไป, ผลิตขึ้น
ผุสฺสรถ : ป. รถที่เทียมด้วยม้าขาวของพระเจ้าจักรพรรดิ ซึ่งถูกปล่อยไปเพื่อแสดงแสนยานุภาพ, รถประจำแคว้น
มุจฺจน : (นปุ.) การหลุด, การพ้น, การปล่อย, การวาง, ความหลุด, ฯลฯ. มุจฺ โมจเน, ยุ. ซ้อน จฺ.
มุญฺจก : ค. ผู้ปล่อย, ผู้พ้น
มุญฺจน : (นปุ.) การแก้, การปลง, การเปลื้อง, การปล่อย, การสละ, การละ. มุจฺ โมจเน, ยุ, นิคฺคหิตคโม.
ยนฺติต : กิต. ปล่อยไปแล้ว, ยิงไปแล้ว
ยนฺเตติ : ก. ปล่อยไป, ยิงไป
วมติ : ก. คาย, ปล่อยออก
วมน : นป. การคาย, การปล่อยออก
วิสฺสฏฺฐิ : อิต. การปล่อยออก
สติโวสฺสคฺค : ป. การปล่อยสติ
สมย : (ปุ.) ขณะ, ครั้ง, ครา, คราว, หน, กาล, เวลา, ฤดู, โอกาส. วิ. สํ ปุนปฺปุนํ เอติ อยติ วาติ สมโย. สํปุพฺโพ, อิ อยฺ วา คติยํ, อ. การได้, การถึง, การเห็น, ความเห็น, ลัทธิ, มติ, ทิฏฐิ, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงแห่งเหตุ, การณะ, เหตุการประชุม, หมวด, หมู่, กอง, คณะ. วิ. สมนฺตโต อยนํ คติ สมโย. การแทงตลอด, ฯลฯ. วิ. สํสุฎชุ สมฺมา วา อวิปริตากาเรน อยิตพฺโพ ญาตพฺโพติ สมโย. การละ, การสละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง. ส. สมย.
สุกฺกวิสฎฐ : (อิต.) การปล่อยซึ่งน้ำสุกกะ.
หาน : (นปุ.) ความละ, ความสละ, ความวาง, ความปล่อย. หา จาเค, ยุ.
อฑฺฒรุก (อฑฺฒทุก) : นป. วิธีแต่งผมซึ่งปล่อยให้ยาวลงถึงหน้าท้อง
อติวิสฺสฏฺฐ : ค. ปล่อยไป, สละไป
อปฺปมุฏฺฐตฺต : นป. ความเป็นผู้ไม่หลงลืม, ความเป็นผู้ไม่ปล่อยสติ
อภิสมย : (ปุ.) การถึงพร้อมเฉพาะ, การตรัสรู้-พร้อมเฉพาะ, การตรัสรู้, การตรัสรู้ซึ่งธรรมการบรรลุ, การบรรลุธรรม, การละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง, ความถึงพร้อมเฉพาะ, ฯลฯ, คราวอันยิ่ง, กาลอันยิ่ง.อภิสํปุพฺโพ, อยฺ อิวา คมเน, อ. ตรัสรู้ได้ด้วยอะไร?ตรัสรู้ได้ด้วยจิตที่เป็นปัจจุบันและด้วยญาณในขณะโลกุตตรมรรค.ไตร.๓๑/๖๐๒.
อวิสฺสชฺชิ : ก. ได้ปล่อยแล้ว, ได้สละแล้ว
อุสฺสาเทติ : ก. ปล่อยไป; ยกขึ้น, ตั้งขึ้น; ไล่ไป, ต้อนไป; ยินดี, ยกย่อง, ยินยอม
อูหทติ : ก. ปล่อยออก, ถ่าย, ชำระ, ถ่ายอุจจาระรด