สมุทย : (ปุ.) การเกิดขึ้นพร้อม, การตั้งขึ้นพร้อม, การเกิดขึ้น, ความตั้งขึ้นพร้อม, ฯลฯ, ปัจจัย, ที่เกิด, เหตุ, ต้นเหตุ, เหตุเกิดแห่งทุกข์, ฝูง, ฯลฯ, ชุมนุม, สมุทัย(เหตุให้เกิดทุกข์). วิ. สหาวยเวน อุทยตีติ สมุทโย. สหปุพฺโพ, อุปพฺโพ, อยฺ คติยํ, อ, ทฺอาคโม.
ติโรกฑฺฑ : (นปุ.) ภายนอกแห่งฝา, ภายนอก ฝา, นอกฝา.
ปริกฺขาร : (วิ.) ( ปัจจัย ) เป็นเครื่องทำรอบ.
ปริพาหิร : ค. ภายนอก
พหิ : อ. ภายนอก
พาหิร พาหิรา : (อัพ. นิบาต) ภายนอก, ใน ภายนอก.
อาหาร : (ปุ.) วัตถุอัน...พึงกิน, วัตถุอัน...พึง กลืนกิน, เครื่องบริโภค, เครื่องค้ำจุนชีวิต, ของกิน, อาหาร. วิ. โอชฏฺฐมกํ รูปํ อาหร ตีติ อาหาโร. อาหรติ พลายูนีติ วา อาหาโร. อาปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, โณ. แปลว่า การณะ, เหตุ. ปัจจัย การนำมา อีกด้วย. ส. อาหาร.
อิทปจฺจย อิทปฺปจฺจย : (วิ.) (สังสารวัฏ) มีกิเลส มีอวิชชาเป็นต้นนี้เป็นปัจจัย. วิ. อิทํ อวิชฺชาทิ ปจฺจโย เอเตสนฺติ อิทปจฺจ โยอิทปฺปจฺจ โยวา. ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. แปลง อิม เป็น อิทํ เมื่อเป็นบทปลง ลบ นิคคหิตโมคฯ สมาสภัณฑ์ ๕๕.
กตรปจฺจย : (ปุ.) ปัจจัยอะไร.
กมฺมปจฺจย : ๑. ป. กรรมปัจจัย, ปัจจัยของกรรม ;
๒. มีกรรมเป็นเครื่องสนับสนุน
กายายตน : นป. สิ่งที่เป็นสื่อรับความรู้สึกจากภายนอกมาสู่กาย, สื่อทางกาย
กิตก : (ปุ.) ศัพท์อันเรี่ยรายด้วยกิตปัจจัย, กิตก์ ชื่อของศัพท์ที่ท่านประกอบด้วย ปัจจัยหมู่หนึ่ง ซึ่งเป็นเครื่องหมายของนาม ศัพท์และกิริยาศัพท์ที่ต่าง ๆ กัน. จากบาลี ไวยากรณ์กิตก์. วิ. กิตปจฺจเยน กิรตีติ กิตโก. กิบทหน้า กิรฺธาตุ ในความเรี่ยราย รปัจ. ลบที่สุดธาตุ แปลง อิ ที่ กิ ตัว ธาตุเป็น อ และลบตัวเอง (รปัจ.).
คิลานปจฺจย : ป. ปัจจัยสำหรับผู้ป่วย, เครื่องบำบัดไข้
คิลานปจฺจยเภสชฺชปริกฺขาร : (ปุ.) บริขาร คือ ยาอันเป็นปัจจัยแก่ภิกษุไข้, บริขารคือ ยาอันเป็นปัจจัยแก่คนไข้, เครื่องยารักษา คนไข้.
จตุปจฺจย : (ปุ.) เครื่องอาศัยเป็นไปสี่, เครื่อง อาศัยเลี้ยงชีวิตสี่อย่าง, ปัจจัยสี่. ปัจจัยสี่ คือจีวร (ผ้า) บิณฑบาต ( ข้าวปลาอาหาร ) เสนาสนะ (ที่อยู่อาศัย) และคิลานเภสัช (ยารักษาโรค).
จตุปจฺจยสนฺโตส : (ปุ.) ความยินดีพร้อมใน ปัจจัยสี่, ความยินดีในปัจจัยสี่, ความพอ ใจในปัจจัยสี่ ( ตามมีตามได้ ).
จตุพฺพคฺค : ป. หมวดแห่งวัตถุสี่ที่มนุษย์ต้องการ
๑. ธมฺม - สมาจาร
๒. กาม - สุข
๓. อตฺถ - ปัจจัย
๔. โมกฺข - นิพพาน
จีวรปิณฺฑปาตเสนาสนคิลานปจฺจยเภสชฺช ปริกฺขาร : (ปุ.) จีวรและบิณฑบาตและ เสนาสนะและยาอันเป็นปัจจัยเพื่อภิกษุ ไข้และบริขาร.
จีวราทิปจฺจยทาน : (นปุ.) การถวายปัจจัยมีจีวร เป็นต้น.
ชีวิตปจฺจย : (ปุ.) เครื่องอาศัยเป็นไปของชีวิต, ปัจจัยของชีวิต.
ตณฺหาปจฺจย : ต. มีตัณหาเป็นปัจจัย, มีตัณหาเป็นเหตุ
ตทฺธิต : (นปุ.) ตัทธิต ชื่อบาลีไวยากรณ์แผนก หนึ่ง ลงปัจ. ไว้ที่ศัพท์หน้าแทนศัพท์หลัง ที่ลบ เพื่อทำคำพูดให้สั้นลง วิ. ตสฺส อตฺสฺส หิตํ ตทฺธิตํ (ปจฺจยชาตํ) แปลว่า ปัจจัยเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่เนื้อความนั้น. เป็น ฉ.ตัป. แปลง ห เป็น ธ ซ้อน ทฺ.
ติริย : (อัพ. นิบาต) ภายนอก, ขวาง, ปิด, โดยขว้าง, โดยกว้าง, โดยเบื้องขวาง, ใน เบื้องขวาง. รูปฯนามกัณฑ์ว่าเป็น สัตตมิยัตถนิบาต.
ติโร : (อัพ. นิบาต) ภายนอก, ขวาง, ปิด, โดยขวาง, ในเบื้องขวาง, ในภายนอก. รูปฯ นามกัณฑ์ว่าลงในอรรถสัตมี.
ติโรกฺข : ค. ผู้อยู่ภายนอก
ติโรคาม : ค. ภายนอกหมู่บ้าน
ติโรคุจฺฉิคต : ค. ผู้อยู่ภายนอกท้อง, ผู้คลอดแล้ว
ติโรคุฑฺฑ : นป. ภายนอกฝา, ภายนอกกำแพง
ติโรฉท : ป. ภายนอกที่กำบัง, ภายนอกม่าน
ติโรปพฺพต : (นปุ.) ภายนอกแห่งภูเขา, นอก ภูเขา, นอกเขา. วิ. ปพฺพตสฺส ปรภาโค ติโรปพฺพตํ รูปฯ ๓๒๓ .
ติโรปาการ : (นปุ.) ภายนอกแห่งกำแพง, ภายนอกกำแพง, นอกกำแพง.
ติโรรฏฺฐ : ป. ต่างประเทศ, รัฐภายนอก
- ท : ค. ปัจจัยซึ่งมาจาก ทา ธาตุสำหรับต่อท้ายศัพท์แปลว่า “ให้” เช่นในคำว่า อนฺนท, วณฺณท, สุขท, วรท เป็นต้น
ธมฺมฐตตา : (อิต.) ความตั้งอยู่แห่งธรรม, ความตั้งอยู่แห่งปัจจัย. ตาปัจ. สกัด.
ธมฺมฐติ : (อิต.) ความตั้งอยู่แห่งธรรม, ความตั้งอยู่แห่งปัจจัย, ธรรมฐติ ชื่อของปัญญาในการกำหนดปัจจัย. ไตร. ๓๑/๗๒.
ธมฺมตา : (อิต.) ความเป็นแห่งธรรม, ความเป็นแห่งปัจจัย, ความเป็นเอง, จารีต, ธรรมเนียม, ประเพณี, สิ่งอันเป็นเอง, ธรรมดา คืออาการหรือความเป็นไปแห่งธรรมชาติ หรือการเสื่อมสลาย คือเสื่อม สลาย. ธมฺม+ตา ปัจ. สกัด. ส. ธรฺมตา.
ธมฺมวิจย : (วิ.) ผู้เลือกเฟ้นวึ่งธรรม, ผู้ค้นคว้าซึ่งธรรม, ผู้คัดเลือกซึ่งธรรม. วิ. ธมฺมํ วิจินาตีติ ธมฺมวิจโย. ผู้เลือกเฟ้นซึ่งธรรมอันเป็นไปภายในและภายนอกอันเป็นภูมิของวิปัสสนา วิง วิปสฺสนาย ภูมิภุเต อชฺฌตฺตพิหิทฮชฺธา ธมฺมเม วิจินาตีติ ธมฺมวิจโย. ธมฺม+วิ+จิ+อปัจง แปลง อิ เป็น เอ เอ เป็น อย. รูปฯ ๕๕๒
นิปจฺจย : (วิ.) มีบุคคลเป็นแดนอาศัยเป็นไป หามิได้, ไม่มีบุคคลเป็นปัจจัย, ไม่มี บุคคลเป็นที่พึ่ง.
ปฏิจฺจสมุปฺปาท : ป., ปฏิจจสมุปบาท, การที่ธรรมทั้งหลายอาศัยกันและกันเกิดขึ้นร่วมกัน, กฏแห่งธรรมที่ต้องอาศัยกันและกันเกิดขึ้น ซึ่งมีอยู่ ๑๒ ประการ คือ
๑. เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร
๒. เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ
๓. เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป
๔. เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ
๕. เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ
๖. เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา
๗. เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา
๘. เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน
๙. เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ
๑๐. เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ
๑๑.- ๑๒. เพราะชาติ จึงมีชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์โทมนัส อุปายาส
ปฏิเสวติ : ก. เสพเฉพาะ, เสพ (เมถุน), ประพฤติ, ปฏิบัติตาม, เสพอาศัย, ส้องเสพ, ใช้ (ปัจจัยสี่)
ปฏิหาหิร : ค. ซึ่งมีในภายนอก, ซึ่งอยู่ภายนอก, ซึ่งเร่ร่อนไม่มีที่อยู่
ปรชน : ป. คนอื่น, คนแปลกหน้า, คนภายนอก, คนฝ่ายตรงข้าม, ข้าศึก, ปีศาจ
ปรปจฺจย : ค. มีผู้อื่นเป็นปัจจัย, ซึ่งอาศัยผู้อื่นสนับสนุน, ซึ่งขึ้นอยู่กับผู้อื่น
ปวุตฺถ : ค. อยู่แล้ว, อาศัยอยู่ภายนอกบ้าน
พหิกรณ : นป. การกระทำไว้ในภายนอก
พหิคต : ค. ไปข้างนอก; อยู่ภายนอก
พหิทฺธารมฺมณ : (นปุ.) อารมณ์เป็นภายนอก.
พหินกฺขมน : นป. การออกไปภายนอก
พหิ พหิทฺธา : (อัพ. นิบาต) ภายนอก, ชั้นนอก, มีในภายนอก.
พาหิก : ค. ซึ่งมีในภายนอก, ซึ่งอยู่ข้างนอก