Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ปัน , then บัน, ปน, ปนฺ, ปัน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ปัน, 218 found, display 1-50
  1. กุฏิ กุฏิล : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อิ, อิโล. เกี่ยว, ตัด, แบ่ง, ปัน, กุฏฺ เฉทเน, อิ, อิโล. กุฏิล นั้นรูปฯ ๖๕๕ ลง อิร ปัจ. แปลง ร เป็น ล. ส. กุฏิล.
  2. ปน : (อัพ. นิบาต) บางที, บางคราว, ก็, แต่, ก็ แต่ว่า, ฝ่ายว่า, ส่วน, ส่วนว่า, ถึงอย่างนั้น, ถึงกระนั้น, ถึงดังนั้น, อนึ่งโสด, ด้วยแท้, เหมือนอย่างว่า, สำหรับ, แล, เล่า.
  3. ปนฺติ : (อิต.) ราวป่า, แถว, แนว, ท่องแถว, สาย, บรรทัด, เส้นบรรทัด, ทาง, หนทาง, ลำดับ, แบบแผน, ระเบียบ, บาลี. ปนฺ วฺย วหาเร ถุติมฺหิ จ, ติ.
  4. ขณฺฑน : (นปุ.) การตัด, การแบ่ง, การปัน. ขทิ เฉเท, ยุ.
  5. จาค : (ปุ.) การสละ, การให้, การให้ปัน, การบริจาค, ความสละ, ฯลฯ. จชนํ จาโค. จชฺ หานิมฺหิ (สละ), โณ. แปลง ช เป็น ค หรือตั้งหา ธาตุในความสละ วาง ปล่อย ณ ปัจ. เทว๎ภาวะ หา แปลง หา เป็น จา แปลง ห ตัวธาตุเป็น ค. ส. ตฺยาค.
  6. จาคธน : นป. ทรัพย์คือจาคะ, ทรัพย์คือการให้ปันสิ่งของของตนแก่คนที่ควรให้ปัน (เป็นอริยทรัพย์อย่างหนึ่งในอริยทรัพย์เจ็ด)
  7. ตุวฏฺเฏติ : ก. แบ่ง, ปันส่วน
  8. ทานธมฺม : ป. การบำเพ็ญทาน, การเผื่อแผ่, การแบ่งปัน
  9. ปริจาค ปริจฺจาค : (ปุ.) การสละ, การให้, การให้ปัน, การสละให้, การเสียสละ. ปริปุพฺโพ, หา จาเค, โณ, เท๎วภาวะ หา รัสสะเป็น ห แปลง ห,ห เป็น จ,ค หรือ ตั้ง จชฺ จาเค ศัพท์หลังซ้อน จฺ โมคฯ ลง ฆณฺ ปัจ. ส. ปริตฺยาค.
  10. ภตฺติ : (อิต.) การแบ่ง, การแจก, การให้, การให้ปัน. ภชฺ ภาชน-ทาเนสุ, ติ แปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ชฺ.
  11. ปนส : (ปุ.) ขนุน, ต้นขนุน. วิ. ปญฺญเต ถวียเตติ ปนโส. ปนฺ วฺยวหาเร, ถุติมฺหิ จ, อโส.
  12. อปิจ โย ปน : (อัพ. อุปสรรค) แม้นอนึ่งโสด.
  13. ปนฺถก : ป. คนเดินทาง
  14. ปนฺถมกฺกฏก : ป. แมงมุมซึ่งชักใยอยู่ตามถนนหนทาง
  15. ปนฺนก : ค. ผู้เงียบ, ผู้นิ่ง
  16. ปนฺนภาร : ค. ผู้มีภาระอันปลงลงแล้ว, ผู้ปลงภาระลงแล้ว, ผู้หมดภาระ, ผู้เสร็จกิจ, ผู้หลุดพ้นแล้ว
  17. ปนฺนภูมิ : อิต. ระดับแห่งความเจริญของคนที่ถึงขั้นหมดความห่วงใย, เป็นปุริสภูมิที่ ๘ ในลัทธิมักขลิโคสาล
  18. ปนฺนรส : (ไตรลิงค์ ) สิบห้า แปลง ปญฺจ เป็น ปนฺน. ดู ปณฺณรส ประกอบ.
  19. ปนฺนรสม : ค. ที่สิบห้า
  20. ปนฺนรสิก : ค. ซึ่งมีในวันที่ ๑๕ (ทางจันทรคติ)
  21. ปนสวิเสส : (ปุ.) ทุเรียน.
  22. โคปน : (นปุ.) การคุ้มครอง, การรักษา, ความคุ้มครอง, ความรักษา. คุปฺ โคปนรกฺขเณสุ, โณ, ยุ.
  23. โจปนวาจา : (อิต.) คำพูดอันยังผู้ฟังให้ไหว, โจปนวาจา คือ กิริยาอาการพิเศษที่เป็นไป ในคำพูด ซึ่งทำให้ผู้ฟังรู้ความประสงค์ ของผู้พูด.
  24. ตาปน : (นปุ.) การทรมาน, ความทรมาน, ความร้อน, ฯลฯ. ตปฺ สนฺปาเต, ยุ. การทำให้ตกใจ,ความสะดุ้ง,ฯลฯ.ตปฺ อุพฺเพเค. การทำให้พอใจ. ความอิ่มใจ. ตปุ ปีณเน. ส. ตาปน.
  25. มนฺตชปฺปน : (นปุ.) การกล่าวมนต์, การร่ายมนต์, มนฺต+ชปฺปน.
  26. มิสฺส มิสฺสก : (วิ.) แซม, เจือ, ปน, เจือปน, ปนกัน, คละ, คละกัน, ระคน, ระคนกัน, คลุกเคล้า. มิสฺ สมฺมิสฺเส, โส. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  27. มิสฺส, มิสฺสก : ค. เจือ, ปน
  28. มิสฺเสติ : ก. เจือ, ปน, ผสม
  29. โวตฺถปน : นป. โวตถัปปน (จิต)
  30. อุกฺเขปน : นป. ดู อุกฺขิปน
  31. อุปนฺติก : (วิ.) ใกล้ วิ. อนฺติกภาว มุปคตํ อุปนฺติกํ. อุป+อนฺต+อิก ปัจ.
  32. อุลฺโลปน : นป. ดู อุลฺลุมฺปน
  33. กญฺญชปฺปน : นป. การกระซิบ
  34. กณฺณชปน : (นปุ.) การพูดที่หู, การกระซิบที่หู (การทำให้เขาแตกกัน). กณฺณ+ชปฺ ธาตุ ยุ ปัจ.
  35. กปฺปน : (ปุ.) เครื่องแต่งช้าง. กปฺปฺ สาม ตฺถิยสชฺชเนสุ, ยุ.
  36. กมฺป กมฺปน : (วิ.) อันยัง...ให้ไหว, ไหว, หวั่น, สั่น, รัว. กมฺปฺ กมฺปเน, อ, ยุ.
  37. กมฺปน : นป., กมฺปา อิต. การไหว, ความเคลื่อนไหว
  38. กมฺมตปฺปน : นป. ความเดือดร้อนเพราะกรรม
  39. กายจลนสีสุกฺขิปนภมุกวิการาทิ : (วิ.) มีอัน ไหวแห่งกายและอันยกขึ้นซึ่งศรีษะและอัน กระทำต่างแห่งคิ้ว (การยักคิ้ว) เป็นต้น, มีอันกระดิกซึ่งกาย และอันสั่นซึ่งศรีษะ และอันยักซึ่งคิ้วเป็นต้น. เป็น ฉ. ตุล. มี ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ อ. ทวัน. เป็นท้อง.
  40. การาปกฺขิปน : (นปุ.) การตัดสินจำคุก.
  41. การาปน : นป. การสั่งให้ทำ
  42. กุปฺปน : นป. ความโกรธ, ความเคือง, ความกำเริบ, ความสะเทือน
  43. ขชฺโชปก ขชฺโชปน : (ปุ.) หิงห้อย.
  44. ขมาปน : นป. การบอกให้ยกโทษให้, การให้ขอขมา
  45. ขาทาปน : นป. การให้เคี้ยวกิน, การป้อน
  46. ขิปน : นป. การซัดไป, การขว้างปา
  47. เขป เขปน : (นปุ.) การทิ้ง, การขว้าง. การขว้างไป, การโยนไป, ฯลฯ. ขิปฺ ฉฑฺฑนาทีสุ, อ, ยุ.
  48. เขปน : นป. การสิ้นไป, การหมดไป
  49. จิตฺตปโกปน : นป. การทำจิตใจให้กำเริบ, การทำจิตใจให้หวั่นไหว, การทำจิตใจให้สั่นสะเทือน
  50. จีวรปารุปน : (นปุ.) ที่เป็นที่ห่มซึ่งจีวร วิ. จีวรํ ปารุปตนฺติ เอตฺถาติ จีวรปารุปนํ.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-218

(0.0845 sec)