ปมทวน : (นปุ.) สวนนางข้างใน ( สวนหลวง ทรงให้สร้างขึ้นเพื่อนางข้างใน ไม่ใช่เป็น ที่เที่ยวของชนอื่น ) วิ. ปมทานํ วนํ ปมทาวนํ. รัสสะ อา ที่ ทา เป็น อ.
ปมทา : (อิต.) หญิง, ผู้หญิง, นาง. วิ. วิรูเปสุปี มโท ราคมโท ยสฺสา สา ปมทา. ปกฏฺโฐ วา มโท รูปโสภคฺคชนิโต เจโตวิ กาโร ยสฺสา สา ปมทา. เป็น ปมุทา บ้าง.
ปมทาวน : นป. อุทยานใกล้พระราชวัง
คณฺฐิก : (ปุ.) ลูกดุม, ปม, จงกลนี.
คฬ :
ป. หยาด; ปม; ขอ; ดู คล ด้วย
ปพฺพ : (นปุ.) ข้อ, หัวข้อ, ข้อไม้, ปล้อง, ภาค, ส่วน, หมู่, ตอน, เล่ม, ปม, ดิถีเภท คือ วัน ไม่ดีทางโหราศาสตร์ แต่ทางพุทธศาสนา สอนว่า ดีหรือไม่ดีไม่ขึ้นอยู่กับวัน ขึ้นอยู่ กับการกระทำ. ปพฺพ ปูรเณ, อ.
เขตฺตูปม : ค. ซึ่งอุปมาด้วยนาหรือสวน, เปรียบกับนาหรือสวน
ตถูปม : ค. มีอุปมาเช่นนั้น, มีอย่างนั้นเป็นเครื่องเปรียบ, เหมือนอย่างนั้น
นครูปม : ค. อันเปรียบด้วยนคร, อุปมาเหมือนนคร
นิรุปม : ค. ปราศจากสิ่งเปรียบเทียบ, หาสิ่งเปรียบเทียบไม่ได้
ปุม : (ปุ.) ชาย, คน, คนผู้ชาย, บุรุษ. วิ. ปุนาตีติ ปุมา. ปุ ปวเน, โม.
เปม : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เป็นที่รัก, ความเป็นแห่งความปลื้ม, ความเป็นแห่งความรัก. วิ. ปิยสฺส ภาโว เปมํ. อิม ปัจ. แปลง ปิย เป็น ป. อีกอย่างหนึ่ง วิ. ปิโน ภาโว เปมํ. อภิฯ.
เผณูปม : ค. ซึ่งเปรียบด้วยฟองน้ำ, ซึ่งเหมือนฟองน้ำ
โสปม : (ปุ.) ผักโหม แห้วหมู?.
โสมปม : (วิ.) เป็นไปกับด้วยอุปมา.
อนุปม : ค. ไม่มีผู้เปรียบ
อนูปม : ค. ไม่มีสิ่งเปรียบ, หาที่เปรียบมิได้
อุปม : ค. มีอุปมา, เปรียบเทียบได้
ชฐ : (ปุ.) ท้อง, พุง, ขอด, ปม. ชนฺ ปาตุภาเว, โฐ, นฺโลโป.
คณฺฐิกเภทกโจรวตฺถุ : (นปุ.) เรื่องของโจรผู้ ทำลายปม.
คณฺฐิ, คณฺฐิกา : อิต. ปม; การผูก; ลูกดุม; ข้อ; ปล้อง
คณฺฐิปาท : นป. คำที่เป็นดุจปม, คำพูดที่มีเงื่อนงำ, คำพูดที่คลุมเครือ
คณฺฑู : อิต. ปม, ปุ่ม, ที่ต่อ
คุณฺฏิกา : อิต. ปมเชือก
ทารุฆฏิกา : อิต. หม้อน้ำทำด้วยไม้, ปมไม้
ทิฏฺฐิคณฺฐิ : อิต. ปมคือทิฐิ, ปมยุ่งแห่งความคิดเห็นอันไร้เหตุผล
นิคฺคณฺฐิ : ค. อันปราศจากปม
ปาท : ป., นป. เท้า, เชิง, เสี้ยว, เศษหนึ่งส่วนสี่; ราก, ปุ่ม
พุนฺท : (ปุ.) ราก. วุ สํวรเณ, โท, นิคฺคหิตาคโม, วสฺส โพ. ปุ่ม, พันธุ์ ขา ก็แปล.
สุกรเปต : (ปุ.) เปรตมีศรีษะเพียงดังศรีษะแห่งสุกร. เป็น วิเสสนบุพ.กัม. มี ฉ.อุปมพหุพ. เป็นท้อง.
อนฺตคณฺฐิ : อิต. ปม, ขอดลำไส้, ไส้ทบ
อุณฺหีส : (ปุ. นปุ.) เครื่องประดับหน้า, วงหน้า, กรอบหน้า, เทริด (เครื่องประดับศรีษะ รูปมงกุฏอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า), มงกุฎ พระมงกุฎ ชื่อเครื่องราชกกุธภัณฑ์อย่างที่ ๑ ใน ๕ อย่าง ; ผ้าโพก, หัวบันได, ราว บันได. อุปุพฺโพ, นหฺ พนฺธเน, อีโส, วณฺณวิกาโร (เปลี่ยนอักษรคือ แปลง น เป็น ณ). เป็น อุณฺหิส บ้าง. ส. อุษฺณีษ.