อนุกนฺตติ : ก. ตัด, ปาด, ฉีก
ปาต : ป. การตกไป, การตกลง
มโหทร : (ปุ.) คนท้องใหญ่, คนลงพุง, อึ่งอ่าง, ปาด.
เกนิปาต : (ปุ.) ถ่อ, หางเสือ. วิ. เก ชเล นิปาตียเตติ เกนิปาโต. กระแชง เสา กระโดง?. ส. เกนิปาต.
นิปาต : (ปุ.) การตกไปโดยไม่เหลือ, การตก ไปในระหว่าง, การไม่เปลี่ยนแปลง, การประชุม, ความตก, ความตกไป, ความไม่เปลี่ยนแปลง, นิบาต คือคำเรียก อัพยย- ศัพท์มี ป เป็นต้น อีกอย่างหนึ่งเรียก คัมภีร์ในพระพุทธศาสนา. นิปุพฺโพ, ปตฺ ปตเน, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. นิปาต.
สนฺนิปาต : (ปุ.) การประชุม, การประชุมกัน, ที่ประชุม, สันนิบาต. คำ สันนิบาต ไทยใช้เป็นชื่อของไข้ชนิดหนึ่ง มีอาการสั่นเทิ้มและเพ้อ. สํ นิ ปุพฺโพ, ปตฺ คติยํ, โณ. ส. สนฺนิปาต.
อุกฺกาปาต : (ปุ.) การตกแต่งประทีป, อุกกา- บาต (แสงสว่างเป็นดวงไฟตกมาจาก อากาศ ผีพุ่งใต้), ส. อุลฺกาปาต.
อุปฺปาต อุปฺปาท : (ปุ.) กาลเป็นที่บังเกิดขึ้น, อาเพศแห่งดินฟ้าอากาศ แสดงผลดีผลชั่ว, ลางชี้ผลดีและผลชั่ว, อุบาต อุบาท (เหตุ การณ์ที่เกิดขึ้นผิดปกติ). วิ. สุภาสุภผลํ ปกาเสนฺโต อุปฺปตฺตีติ อุปฺปาโต, ปตฺ คติยํ, โณ, ปฺสํโยโค. การเกิดขึ้น, การบังเกิดขึ้น, เหตุ. วิ. อุปฺปตฺติ อุปฺปาโต. ศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ท. ส. อุตฺปาต อุตฺปาท.
กสปาติ, - ปาตี : อิต. ถาดหรือภาชนะสัมฤทธิ์
กุสปาต : ป. การแจกสลาก, การจับสลาก
จาตุรงฺคสนฺนิปาต : (ปุ.) การประชุมพร้อมด้วย องค์สี่, การประชุมประกอบด้วยองค์สี่, การประชุมมีองค์สี่. จาตุรงคสันนิบาตเป็น ชื่อของการประชุมในวันมาฆบูชาเมื่อพระ พุทธเจ้าตรัวรู้แล้วได้ ๙ เดือน องค์สี่คือ. – ภิกษุที่มาประชุม ๑๒๕๐ องค์ ล้วน เป็นพระอรหันต์ ภิกษุสงฆ์ทั้งหมดนั้นเป็นเอหิภิกขุ – อุปสัมปทา ภิกษุสงฆ์เหล่านั้นมากันเองโดยมิได้ นัดหมาย และ วันนั้นเป็นวันเพ็ญเดือนมาฆะ
จีวรปิณฺฑปาตเสนาสนคิลานปจฺจยเภสชฺช ปริกฺขาร : (ปุ.) จีวรและบิณฑบาตและ เสนาสนะและยาอันเป็นปัจจัยเพื่อภิกษุ ไข้และบริขาร.
ทิฏฺฐินิปาต : ป. การลงความเห็น, การเหลือบมอง
ทุกนิปาต : (ปุ.) ทุกนิบาต ชื่อคัมภีร์ในไตร.
ธาราสมฺปาต : ป. สายฝน, ฝนตกหนัก, ท่อธาร
ปณิปาต : ป. การหมอบลง, การหมอบกราน, การแสดงความเคารพ
ปปาต : (วิ.) ชัน, ลึก.
ปาณาติปาต : ป. การทำลายชีวิตสัตว์ให้ล่วงไป
ปาติ : ๑. อิต. ถาด, ถ้วย, จาน, บาตร;
๒. ก. เลี้ยง, รักษา, คุ้มครอง
ปาตี :
๑. อิต. ดู ปาติ๒. ค. ผู้ทำให้ตกไป, ผู้ขว้าง, ผู้ปา, ผู้ยิง
ปาตุ : อ. ข้างหน้า, ปรากฏ, พอมองเห็นได้
ปาโต, ปาโตว : อ. เช้า, แต่เช้าตรู่
ปิณฺฑปาต : ป. การบิณฑบาต, การยังก้อนข้าวให้ตกไป (ในบาตร)
สมฺปาต : (ปุ.) ฝนตกหนัก, ห่าฝน. วิ. สํ อโธ ปตตีติ สมฺปาโต. สํปุพฺโพ, ปตฺ ปตเน, โณ.
สีหปฺปปาต : (ปุ.) สีหัปปปาตะ ชื่อสระใหญ่ สระ ๑ ใน ๗ สระ วิ. สีหา ปปตนฺติ อสฺมินฺติ สีหปฺปปาโต. สีห ป ปุพฺโพ, ปตฺ ปตเณ, โณ.
อติปาต : (ปุ.) การก้าวล่วง, การล่วงละเมิด, การยังสิ่งมีชีวิตให้ตกล่วงไป, การยังชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป, การฆ่า, การฆ่าสัตว์.
อธิปาต : ป. การให้ตกล่วงไป, การทำลาย
อนุปาต : ป. การโต้เถียง, การติเตียน
อภินิปาต, อภินิปาตน : นป. การตกทับ, การตกลงไป, การจู่โจม, การทำลาย
อสนิปาต : ป. อสนีบาต, ฟ้าผ่า
อสนิปาตอสนีปาตอสุนีปาต : (ปุ.) การตกแห่งสายฟ้า, ฟ้าผ่า, อสนีบาต, อสุนีบาต.
อุปฺปาต : ป. การบินขึ้น; อุกกาบาต; เหตุการณ์อันผิดปกติ, ลาง
อุปาต : กิต. ขว้างขึ้นแล้ว, ฟุ้งแล้ว
โอปาต : (ปุ.) บ่อ, สระ, ดอปุพฺโพ, ปา ปาเน, โต.
ขตก : นป. ความเสียหาย, ความบาดเจ็บ
โคลีมี : (อิต.) ว่านน้ำ วิ. คุณฺณํ โลมสมฺปาต- นฏฐาเน ชาตา โคโลมี. หญ้า แพรกขาว วิ. โคโลมชตฺตา โคโลมี, แฝกขาว, เปราะ ก็แปล.
จน : (อัพ. นิบาต) เมื่อ, บางที. เป็น อสากลฺยตฺ- ถวาจกนิปาต อภิฯน. ๔๒๓.
มาฆบูชา : (อิต.) การบูชาในวันเพ็ญเดือน ๓, การบูชาด้วยปรารภเหตุสำคัญของพุทธศาสนาซึ่งเกิดขึ้นในวันเพ็ญเดือนมาฆะ ถ้าปีใดมีอธิกมาสจะเลื่อนไปทำการบูชาเพ็ญกลางเดือน ๔ วันมาฆบูชามีความสำคัญ ดังนี้ – ๑. เพราะตรงกับวันจาตุรงคสันนิบาต (ดูคำจตุรงฺคสนฺนิปาต ด้วย). พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ภายหลังจากตรัสรู้ได้ ๙ เดือน และ ๒. เพราะตรงกับวันปลงพระชนมายุสังขารในพรรรษาสุดท้าย ก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพาน ๓ เดือน.วันมาฆบูชา เป็นวันพระสงฆ์.
สามนฺตา : (อัพ. นิบาต) รอบ, รอบคอบ, โดยรอบ. รูปฯ เป็น สตฺตมิยตฺถนิปาต.
สาย : (อัพ. นิบาต) เย็น. สยตฺถนิปาต. ในเวลาเย็น, กาลสตฺตมิยตฺถนิปาต. ส. สายํ.
สิ : (อัพ. นิบาต) ปุจฺฉนตฺถวจนนิปาต. อุ. โก สิ อ. ใครเล่า.
หิมวนฺตุ : (ปุ.) เขาหิมพานต์, ภูเขาหิมพานต์ ป่าหิมพานต์. วิ. หิมปาตสมเย หิมยุตฺโตติ หิมวา. วนฺตุ ปัจ. คิมฺหกาเล หิมํ วมตีติ วา หิมวา. วมุ อุคฺคิรเณ, นฺตปจฺจโย.
อมา : (อัพ. นิบาต) พร้อม, กับ, พร้อมกับ, ร่วม, ร่วมกัน, ร่วมกับ.ใกล้เคียง. สหตฺถวจกนิปาต.
อุทฺธเทหิก : (ไตรลิงค์) ทานมีเบื้องบนแห่งกาย, ทานที่ให้เพื่อผู้ตายในวันตาย. วิ. มตทิวเส มตตฺถํ ยํ ปิณฺฑปาตชลาญฺชลฺยาทิทานํ เอตํ ทานํ เทหา อุทฺเธ ภวํ อุทฺธเทหิกํ. ณิก ปัจ.
อุปฺปาท :
ป. ๑. ดู อุปฺปาต๒. การบังเกิดขึ้น, การอุบัติขึ้น
อุปลิกฺขติ : ก. ข่วน, ขีด, เกา, ทำให้บาดเจ็บ