ปาน : นป. การดื่ม; น้ำดื่ม, น้ำเชื่อม, น้ำหวาน
โคปาณสิ เคปาณสี โคปานสิ โคปานสี : (อิต.) กลอน ไม้กลอน (ไม้ที่พาดบนแป สำหรับวางเครื่องมุงหลังคา เช่น จากที่เย็บ เป็นตับ เป็นต้น), จันทัน ไม้จันทัน (ไม้ เครื่องบนสำหรับรับแปลานหรือระแนง). วิ. คํ วสฺโสทกํ สุริยาทิกิรณํ จ ปิวนฺติ วินาสยนฺติ อพฺภนฺตร มปฺปเวสนวเสนาติ โคปานา. อิฏฺฐกาทโย ; ตานิ สิโนนฺติ พนฺธนฺติ เอตฺถาติ โคปานสี. โคปานปุพฺโพ, สี พนฺธเน, อี.
นิปาน : (นปุ.) ที่ดื่มน้ำของสัตว์, รางน้ำใกล้ สระ. วิ. นิปิวนฺตฺยสฺมินฺติ นิปานํ. นิปุพฺโพ, ปา ปาเน, ยุ. ส. นิปาน.
โสปาน : (ปุ. นปุ.) บันได, พะอง. วิ. สห อุปาเนน วตฺตตีติ โสปาโน. แปลง น เป็น ณ โสปาณ บ้าง. ส. โสปาน.
อุทปาน : (ปุ.) บ่อ, บ่อน้ำ, สระ. วิ. อุทํ ปิวนฺตฺยสฺมินฺติ อุทปาโน. ปา ปาเน, ยุ. ส. อุทปาน.
โจจปาน : นป. น้ำปานะที่ทำจากกล้วยมีเมล็ด
ควปาน : นป. ขนมที่ทำด้วยข้าวผสมนมโค
โคปานสี : อิต. ไม้กลอนหลังคา, ไม้จันทัน
โคปานสีวงฺก : ค. คดหรืองอเหมือนไม้กลอนหรือจันทัน
ชยปาน : (นปุ.) น้ำอันบุคคลพึงดื่มในการเป็น ที่ชนะข้าศึก, น้ำดื่มของทหารผู้ชนะ สงคราม, ชัยบาน.
ทฺวารวาตปาน : นป. ประตูและหน้าต่าง
มชฺชปาน : นป. การดื่มน้ำเมา
วาตปาน : นป. ที่เป็นที่ดื่มลม, หน้าต่าง
สปฺปาน : (ปุ. นปุ.) คราบงู. สปฺป+อาน.
สุราปาน : (ปุ.) คนดื่มสุรา, นักเลงเหล้า, นักเลงสุรา.
โสปานปนฺติ : อิต. ขั้นบันได
โสปานปาท : ป. เชิงบันได
โสปานสีส : นป. ยอดบันได
อฎฺฐปาน : (นปุ.) น้ำดื่มแปดอย่าง, น้ำ สำหรับดื่มแปดอย่าง, เครื่องดื่มแปด อย่าง.
อฎฺปาน : (นปุ.) น้ำดื่มแปดอย่าง, น้ำสำหรับดื่มแปดอย่าง, เครื่องดื่มแปดอย่าง.
อนฺนปาน : นป. ข้าวและเครื่องดื่ม, ข้าวและน้ำ
อปาน : (นปุ.) ลมหายใจเข้าวิ.อสฺสาสสํขาต-อานโตอปคตนฺติอปานํ.อปปุพฺโพ, อนฺปาณเน, อ.แปลว่าลมหายใจออกก็มี.
อานาปาณอานาปาน : (นปุ.) ลมหายใจเข้าและลมหายใจออก.
อานาปานสติ : (อิต.) สติกำหนดลมหายใจเข้าและลมหายใจออก, สติกำหนดลมหายใจเข้าออก.
อานาปาน, อาณาปาณ : นป. การหายใจเข้าออก, การสูดลมเข้าออก
โอปาน : (นปุ.) ที่เป็นที่มาดื่ม, บ่อ, สระ. ยุ ปัจ.
โอปานภูต : (วิ.) เป็นดุจบ่อน้ำ, เป็นบ่อน้ำเป็นแล้ว.
กานน : (นปุ.) ดง, ป่า, หมู่ไม้. วิ. เกน ชเลน อนนํ ปาน มสฺสาติ กานนํ. ฐิ ตมชฺฌนฺติก- สมเย กวติ สทฺทํ กโรติติ วา กานนํ. โกกิลม ยูราทโย กวนฺติ สทฺทายนฺติ กูชนฺติ เอตถาติ วา กานนํ. กุ สทฺเท, ยุ. ส. กานน.
มชฺฌิม : (วิ.) มีในท่ามกลาง, เกิดในท่ามกลาง, ปานกลาง, ปูนกลาง, วิ. มชฺ-เฌ ภโว มชฺฌิโม. มชฺเฌ วา ชาโต มชฺฌิโต มชฺฌิ-โม. อิม ปัจ.
มชฺฌิมธมฺม : (ปุ.) ธรรมปานกลาง ได้แก่ กุศลธรรมและอัพยากตธรรมที่เป็นกามาสวะ เป็น กามาวจร รูปาวจร และ อรูปาวจร. ไตร. ๓๓.
โมกฺข : (วิ.) เป็นหัวหน้า, เป็นประธาน, ประเสริฐ, สูงสุด. วิ. หีนมชฺฌิมภาเวหิ มุจฺจตีติ โมกฺโข (พ้นจากภาวะเลวและภาวะปานกลาง). มุจฺ โมจเน, โต ตสฺส โข, จสฺส โก จ.
วาก : นป. เปลือกไม้, ป่าน, ปอ
สุรา : (อิต.) ปานชาติยังความกล้าให้เกิด, น้ำจันฑ์, สุรา คือน้ำเมาที่กลั้นแล้ว. วิ. สุรํ ชเนตีติ สุรา. สุเรน นาม วนจรเกน กตา ปานชาติ สุรา. ปานชาติอันบุคคลผู้เที่ยวไปในป่าชื่อสุระทำแล้วชื่อ สุรา. หรือตั้ง สุ อภิสเว ปิวเน วา, โร, อิตฺถิยํ อา. ส. สุรา.
อนุมชฺฌ : ค. ปานกลาง, สายกลาง, กึ่งกลาง
อาน : (นปุ.) ลมหายใจออก.วิ.อนฺนติอเนนาติอานํ. อนฺปาณเน, โณ. อานนฺติอสฺสาโสอปานนฺติปสฺสาโส.แปลว่าลมหายใจเข้าอุ.อานาปนสติสติกำหนดลมหายใจเข้าและลมหายใจออก, สติกำหนดลมหายใจเข้าออก.ส.อาน.
อาราธน : (นปุ.) การยัง....ให้ยินดี, การยัง....ให้โปรดปาน, การเชื้อเชิญ, การยินดี, การนิ-มนต์, การอ้อนวอน, การให้สำเร็จ, การบรรลุ, การถึง, การอาราธนา (การขอ).อาปุพฺโพ, ราธฺสํสิทฺธิยํ, ยุ.ไทยใช้อารา-ธนาเป็นกิริยาในความว่าขออ้อนวอนเชื้อเชิญส.อาราธน.
อุทกุกฺเขปสีมา : (อิต.) อุทกุกเขปสีมา สีมา กำหนดด้วยการวักน้ำสาดโดยรอบด้วยมือ ของคนปานกลาง.
ปุปฺผติ : ก. ออกดอก, บาน; เป่า, พัด
ผิต ผีต : (วิ.) แผ่ไป, เผล็ต, บาน, แพร่หลาย, มั่งคั่ง, ผึ่งผาย, กว้าง, กว้างขวาง. ผิ คมเน, โต. ศัพท์หลังทีฆะ.
วิกจ : ค. แย้ม, บาน
กวาฏ : (ปุ.) วงรับลม, บาน ประตู. ส. กวฏี กวาฏ.
กวาฏก : (นปุ.) วงรับลม, บาน ประตู. ส. กวฏี กวาฏ.
กปาฏ : (นปุ.) บานประตู. กปฺ อจฺฉาทเน, อาโฏ. ส. กปาฏ กพาฏ.
กลิกา : (อิต.) อันใกล้จะบาน, อันจะบาน. กลฺ สํขฺยาเณ, อิโก.
กวาฏ, กวาฏก : ป., นป. หน้าต่าง, บานประตูหน้าต่าง
กวาฏปิฏฐ : นป. บานประตู
กุฑุมล, - ก : ป. ดอกไม้ตูม, ดอกไม้ที่กำลังจะแย้มบาน
กุสุมิต : ค. มีดอก, กำลังผลิดอก, มีดอกบานสะพรั่ง
โกรก : (ปุ. นปุ.) ดอกไม้ใกล้จะบาน. กุรฺ สทฺเท, ณฺวุ.