Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ปาว , then บาว, ปาพ, ปาว, ปาวา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ปาว, 18 found, display 1-18
  1. ปาวฏ, ปาว : ค. ขวนขวายแล้ว
  2. ปาวทติ : ก. พูด, บอก, แสดง
  3. กปฺปาวสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงแห่งกัป, กาลสุดแห่งกัป, ที่สุดแห่งกัป, กาลเป็นที่ สุดแห่งกัป, กัลปาวสาน. ส. กลฺปาวสาน.
  4. นิปฺปาว : (ปุ.) การฝัด. นิปุพฺโพ, ปุ ปวเน, โณ.
  5. นิปาว นิปฺปาว : (ปุ.) การฝัด, การชำระ, การทำให้บริสุทธิ์. นิปุพฺโพ, ปุ ปวเน, โณ.
  6. รูปาวจร : ค. ซึ่งเป็นไปในรูปภพ, มีอยู่ในรูปภพ
  7. ปาว : อิต. เมืองหลวงของแคว้นมัลละ; เสื้อคลุม; ต้นมะม่วง
  8. เอธ : (ปุ.) เชื้อไฟ, ฟืน. วิ. เอธติ เอเตน ปาว โกติ เอโธ. เอธฺ วุฑฺฒิยํ, อ. ส. เอธ.
  9. ทาส : (ปุ.) ป่าว, คนรับใช้, คนใช้, ทาส. โบราณเขียน ทาษ. วิ ทาสนฺเตตสฺสาติทาโส. ทาสุ ทาเน, อ. ทาตพฺโพติ วา ทาโส. ทา ทาเน, โส. ส. ทาส.
  10. มชฺฌิมธมฺม : (ปุ.) ธรรมปานกลาง ได้แก่ กุศลธรรมและอัพยากตธรรมที่เป็นกามาสวะ เป็น กามาวจร รูปาวจร และ อรูปาวจร. ไตร. ๓๓.
  11. มหคฺคตารมฺมณ : (วิ.) มีอารมณ์เป็นรูปาวจร และ อรูปาวจร. มห (ยิ่ง)+คต+อารมฺมณ.
  12. สุตุต สุตฺร : (นปุ.) พระพุทธวจนะ (ปาวจนา), พระสูตร ชื่อหมวด ๑ ในพระไตรปิฎก คำเต็มว่า พระสุตตันตะ. วิ.อตฺเถ อภสเวตีติ สุตฺตํ สุตรํ วา (หลั่งอรรถ). สุ อภิสเว, โต, ทวิตฺตํ, ตฺรณฺปจฺจโย วา. อตฺเถ สูเทตีติ วา สุตฺตํ สุตฺรํ. สูทฺ ปคฺฆรเณ, รสโส, ทฺโลโป. อตฺถํ สุฏฐ ตายตีติ วา สุตฺตํ สุตฺรํ (รักษาด้วยดีซึ่งอรรถรักษาอรรถไว้ดี). สุฏฐปุพฺโพ, ตา ปาลเน, อ, ฏฐโลโป. ศัพท์ต้นซ้อน ตฺ. สูตร ชื่อกฎของไวยากรณ์สำหรับใช้สร้างศัพท์ เช่น โยนํ โน การอาเทศเป็น โนแห่งโย ทฺ เป็นต้น.
  13. อรูปาวจรภูมิ : (อิต.) ภูมิเป็นที่ท่องเที่ยวไปของพรหมผู้ไม่มีรูป, ภูมิที่เป็นที่เกิดของอรูป-พรหม, ที่เกิดของอรูปาวจรวิบาก.
  14. กึกร, กิงฺกร : ป. คนที่ทำกิจอะไรๆ ได้, คนใช้, บ่าว, ทาส
  15. ปริจาริก : (ปุ.) คนรับใช้, คนบำเรอ, ทาส, บ่าว, ทาสรับใช้. ปริปุพฺโพ, จรฺ คติยํ, ณิโก.
  16. เปสการก : ป. บ่าว
  17. ภจฺจ : (ปุ.) สัตว์อันบุคคลพึงเลี้ยง, บ่าว, ไพร่, บ่าวไพร่, ข้าใช้, คนรับใช้, คนใช้, อำมาตย์. วิ. ภรียตีติ ภจฺโจ. ภรฺ ธารณโปสเนสุ, ริจฺจปจฺจโย. ลบ รฺ, รฺ และ อิ. ภริตพฺโพติ วา ภจฺโจ. รูปฯ ๕๔๒. โมคฯ ลง ย ปัจ. แปลงเป็น จฺจ ลบ รฺ อีกอย่างหนึ่งว่ามาจาก ภต ศัพท์ แปลง ต เป็น จ ซ้อน จฺ ว่านน้ำ ก็แปล.
  18. ภฏ : (ปุ.) คนอันท่านเลี้ยง, คนที่เขาเลี้ยง, บ่าว, ไพร่, พลรบ, นักรบ, อำมาตย์. กฏฺ ภตฺยํ, อ.

(0.0575 sec)