ปาส : ป. มวยผม; บ่วง, แร้ว; รูลูกดม
นาคปาส : (ปุ.) บ่วงที่เป็นงู, นาคบาส ชื่อ อาวุธของท้าววรุณ. ส. นาคปาศ.
ปาสณฺฑ : นป. ความเห็นนอกรีดนอกรอย, บาป
ปาสณฺฑก, - ฑิก : ป. คนนอกรีดนอกรอย
ปาสนี : อิต. ส้นเท้า, ส้นตีน
ปาสส : ค. ได้รับการสรรเสริญ, ควรแก่การสรรเสริญ
คณฺฐิปาส : (ปุ.) บ่วง, แร้ว, จั่น. คณฺฐิ+ปาส.
สมฺมาปาส : (ปุ.) สัมมาปาส ชื่อ มหายาคะ อย่างที่ ๔ ใน ๕ อย่าง. ตีณิ วสฺสานิ วินา วฑฺฒิยาสหสฺสทฺวิสหสฺสมตฺตธนานุปฺปทานํ สมฺมาปาโส นาม.
กปฺปาส : (นปุ.) กปฺปาสิ กปฺปาสี
กปฺปาสปตล : นป. ชั้นหรือเยื่อบางๆ ของฝ้าย
กปฺปาสสุขุม : ค. มีเนื้อฝ้ายที่อ่อนนุ่มนิ่ม
กปาส : ป., นป. ต้นฝ้าย, ฝ้าย
กุณปาส : (ปุ.) กุณปาสะ ชื่อเปรตผู้เคี้ยวกิน ซากศพ วิ. กุณปํ อสตีติ กุณปาโส. กุณปปุพฺโพ, อสฺ ภกฺขเณ, อ. กุณาล
คณฺฐิปาส : ป. บ่วง, แร้ว, จั่น, เครื่องล่ามเท้า
ฆนปาสณฺฑ : ป. นกยูง
นิปฺปิปาส : ค. ซึ่งไม่มีความกระหายหรือความอยากได้
ปกฺขปาส : ป. เพดาน
ปยิรุปาสติ : ก. เข้าไปนั่งใกล้, เข้าไปคอยรับใช้, คบหา, เคารพ, ยกย่อง; เยี่ยมเยียน
มจฺจุปาส : ป. บ่วงแห่งความตาย
หตฺถปาส : (ปุ.) บ่วงแห่งมือ, บ่วงมือ, หัตถบาส ชื่อของระเบียบปฏิบัติสำหรับภิกษุสงฆ์ผู้เข้าร่วมประชุมทำสังฆกรรม จะต้องอยู่ในหัตถบาสของกันและกัน คืออยู่ในระหว่าง ๒ ศอก-คืบ ถ้ายืนก็ห่างกันประมาณ ๑ ศอก ถึง ๑ ศอกคืบ ถ้านั่งก็ห่างกัน ๑ คืบ ต่อ ๆ กันไป และยังใช้เกี่ยวกับคฤหัสถ์ผู้ประเคน (ถวาย) ของแด่ภิกษุสงฆ์ด้วย จะต้องเข้ามาในหัตถบาส คือห่างจากภิกษุผู้รับ ๑ ศอก สำหรับสุภาพสตรีเข้าไปประเคน (ถวาย) อยู่ในระยะ ๑ ศอกนี้ ดูไม่งาน เช่นบางกรณีคือ ถวายของในพิธีมงคลสมรส.
อสิปาส : ค. มีดาบเป็นบ่วง (เทวดาจำพวกหนึ่ง)
อุตฺตรปาส : (ปุ.) บ่วงข้างบน, ห่วงข้างบน.
อุปาสติ : ก. นั่งใกล้, ปรนนิบัติ, ภักดี
กปฺปาสิก : (ไตรลิงค์) ผ้าอันบุคคลทอด้วยฝ้าย, ผ้าฝ้าย, ผ้าด้าย. กปฺปาสผลวิการตฺตา กปฺปาสิกํ. ณิก ปัจ.
ปาสก :
๑. นป. ดู ปาส๒. ป. ลูกเต๋า, ลูกบาศก์, คะแนน, คานประตู
มหายญฺญ : (ปุ.) ยัญใหญ่, ยัญใหญ่ มี ๕ คือ อสฺสเมธ ปุริสเมธ นิรคฺคฬ สมฺมาปาส วาชเปยฺย.
อุปาสก : (ปุ.) ชนผู้นั่งใกล้พระรัตนตรัย, ชน ผู้นับถือพระรัตนตรัยเป็นสรณะ, อุบาสก (คนผู้ชายผู้นับถือพระพุทธศาสนา). วิ. รตนตฺตยํ อุปาสตีติ อุปาสโก. อุปปุพฺโพ, อาสฺ อุปเวสเน, ณฺวุ. ส. อุปาสก.