ปิตาสาล : ป. ไม้ประดู่
มาตามห : (ปุ.) ตา (พ่อของแม่) วิ. มาตุ ปิตา มาตามโห. อามห ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฺฑ์ ๓๘.
กีจก : (ปุ.) ไม้ไผ่อันลมถูกต้องแล้วย่อมบันลือ เสียง, ไม้ไผ่เหล่าใดโยคไหวด้วยลมย่อม บันลือเสียง เพราะมีรูอันสัตว์มีหนอน เป็นต้นทำแล้ว ไม้ไผ่เหล่านั้น ชื่อ กีจกะ วิ. อนิเลน ปกมฺปิตา เย เวณู กีฏาทีหิ กตรนฺธตาย นทนฺติ เต กีจกา. จกิ อามสเน, ณฺวุ, พฺยญฺชนานํ วิปริยาโย (เปลี่ยนพยัญชนะคือเอา ก ไว้หน้า จ). เป็น กิจก บ้าง. ส. กีจก ไม้ไผ่สีกันดัง ออดแอด.
ธนุปญฺจสต : (นปุ.) ร้อยห้าแห่งธนู, ห้าร้อย ชั่วธนู, ห้าร้อยชั่วธนู, ห้าร้อยชั่วธนูเป็น ๑ โกสะ. วิ. อาโรปิตานํ อาจริยธนูนํ ปญฺจสตํ ธนุปญฺจสตํ. วิ. นี้เฉพาะคำแปลหลัง. ธนุปญฺจสตํ โกโส นาม.
ปปิตามห : (ปุ.) ปู่ทวด, ตาทวด, วิ. ปิตามหโต ปโร ปปิตามโห. ปิตุโน ปิตามโห วา ปปิตามโห. ปิตุ + ปิตามห ลบ ตุ แปลง อิ เป็น อ.
มาตามหา มาคามหี : (อิต.) ยาย (แม่ของแม่) วิ. มาตุ มาตา มาตามหา มาตามหี วา. อามห ปัจ. อา อี อิต. ย่า (แม่ของพ่อ) วิ. ปิตุโน มาตา ปิตามหา ปิตามหี วา.
กุปิต : ค. ผู้โกรธแล้ว, ผู้ขัดเคืองแล้ว; หวั่นไหวแล้ว, กำเริบแล้ว
โคปิต : กิต. อันเขาคุ้มครองหรือรักษาแล้ว
ทุกฺขาปิต : กิต. (อันเขา) ทำให้เป็นทุกข์, อันก่อทุกข์ให้
นหาปิต : ๑. ป. ช่างตัดผม, ช่างโกนหนวด, ผู้อาบให้;
๒. กิต. อาบน้ำให้แล้ว
นิพฺพาปิต : ค. อันทำให้เย็น, อันทำให้ดับสนิทแล้ว
ปฏิกฺขมาปิต : กิต. (อันเขา) ให้อดโทษ, ตอบแล้ว, ให้ขอโทษแล้ว
ปริโกปิต : กิต. โกรธแล้ว, กำเริบแล้ว, แค้นเคืองแล้ว
มหาปิต : ป. พ่อใหญ่, ลุง
วฺยาปิต : กิต. เข้าแทรกแซง, ปะปน
สงฺกุปิต : กิต.โกรธเคือง, กำเริบ
อภิโรปิต : กิต. ปลูก, เพาะ, ชำแล้ว; ทำใจให้ตั้งมั่นแล้ว
อโรปิต : ค. ไม่ปลูก, ไม่ตั้งไว้
อวายาปิต : ค. ไม่ให้ทอแล้ว, ไม่ให้ปั่นแล้ว
อหาปิต : กิต. ไม่พลีบูชา, ไม่เซ่นสรวง