ปน : (อัพ. นิบาต) บางที, บางคราว, ก็, แต่, ก็ แต่ว่า, ฝ่ายว่า, ส่วน, ส่วนว่า, ถึงอย่างนั้น, ถึงกระนั้น, ถึงดังนั้น, อนึ่งโสด, ด้วยแท้, เหมือนอย่างว่า, สำหรับ, แล, เล่า.
โกปิน โกปีน : (นปุ.) ผ้าเปลือกไม้, ผ้าปิดของลับ, กรรมที่ไม่ควรทำ, ความลับ, ของลับ. มาตุคาโม ฉวสฺส มาสกรูปสฺส การณา โกปินํ ทสฺสติ. มาตุคาม แสดงของลับ เพราะเหตุปห่งทรัพย์ซึ่งเป็นดุจซากศพ. ไตร. ๓/๓๓.
สุปิน : (ปุ. นปุ.) การหลับ, การนอนหลับ, ความหลับ, การฝัน, ความฝัน. วิ. สุปนํ สุปินํ. สุปฺ สยเน, อิโน.
อปิจ โย ปน : (อัพ. อุปสรรค) แม้นอนึ่งโสด.
ปนสวิเสส : (ปุ.) ทุเรียน.
โคปน : (นปุ.) การคุ้มครอง, การรักษา, ความคุ้มครอง, ความรักษา. คุปฺ โคปนรกฺขเณสุ, โณ, ยุ.
โจปนวาจา : (อิต.) คำพูดอันยังผู้ฟังให้ไหว, โจปนวาจา คือ กิริยาอาการพิเศษที่เป็นไป ในคำพูด ซึ่งทำให้ผู้ฟังรู้ความประสงค์ ของผู้พูด.
ตาปน : (นปุ.) การทรมาน, ความทรมาน, ความร้อน, ฯลฯ. ตปฺ สนฺปาเต, ยุ. การทำให้ตกใจ,ความสะดุ้ง,ฯลฯ.ตปฺ อุพฺเพเค. การทำให้พอใจ. ความอิ่มใจ. ตปุ ปีณเน. ส. ตาปน.
มนฺตชปฺปน : (นปุ.) การกล่าวมนต์, การร่ายมนต์, มนฺต+ชปฺปน.
มิสฺส มิสฺสก : (วิ.) แซม, เจือ, ปน, เจือปน, ปนกัน, คละ, คละกัน, ระคน, ระคนกัน, คลุกเคล้า. มิสฺ สมฺมิสฺเส, โส. ศัพท์หลัง ก สกัด.
มิสฺส, มิสฺสก : ค. เจือ, ปน
มิสฺเสติ : ก. เจือ, ปน, ผสม
โวตฺถปน : นป. โวตถัปปน (จิต)
กญฺญชปฺปน : นป. การกระซิบ
กณฺณชปน : (นปุ.) การพูดที่หู, การกระซิบที่หู (การทำให้เขาแตกกัน). กณฺณ+ชปฺ ธาตุ ยุ ปัจ.
กปฺปน : (ปุ.) เครื่องแต่งช้าง. กปฺปฺ สาม ตฺถิยสชฺชเนสุ, ยุ.
กมฺป กมฺปน : (วิ.) อันยัง...ให้ไหว, ไหว, หวั่น, สั่น, รัว. กมฺปฺ กมฺปเน, อ, ยุ.
กมฺปน : นป., กมฺปา อิต. การไหว, ความเคลื่อนไหว
กมฺมตปฺปน : นป. ความเดือดร้อนเพราะกรรม
กายจลนสีสุกฺขิปนภมุกวิการาทิ : (วิ.) มีอัน ไหวแห่งกายและอันยกขึ้นซึ่งศรีษะและอัน กระทำต่างแห่งคิ้ว (การยักคิ้ว) เป็นต้น, มีอันกระดิกซึ่งกาย และอันสั่นซึ่งศรีษะ และอันยักซึ่งคิ้วเป็นต้น. เป็น ฉ. ตุล. มี ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ อ. ทวัน. เป็นท้อง.
การาปกฺขิปน : (นปุ.) การตัดสินจำคุก.
การาปน : นป. การสั่งให้ทำ
กุปฺปน : นป. ความโกรธ, ความเคือง, ความกำเริบ, ความสะเทือน
ขชฺโชปก ขชฺโชปน : (ปุ.) หิงห้อย.
ขมาปน : นป. การบอกให้ยกโทษให้, การให้ขอขมา
ขาทาปน : นป. การให้เคี้ยวกิน, การป้อน
ขิปน : นป. การซัดไป, การขว้างปา
เขป เขปน : (นปุ.) การทิ้ง, การขว้าง. การขว้างไป, การโยนไป, ฯลฯ. ขิปฺ ฉฑฺฑนาทีสุ, อ, ยุ.
เขปน : นป. การสิ้นไป, การหมดไป
จิตฺตปโกปน : นป. การทำจิตใจให้กำเริบ, การทำจิตใจให้หวั่นไหว, การทำจิตใจให้สั่นสะเทือน
จีวรปารุปน : (นปุ.) ที่เป็นที่ห่มซึ่งจีวร วิ. จีวรํ ปารุปตนฺติ เอตฺถาติ จีวรปารุปนํ.
เจตาปน : นป. การแลกเปลี่ยน, การซื้อขาย
โจปน : (นปุ.) การยัง...ให้ไหว, การยัง...ไห้ หวั่นไหว. จุ จวเน, ณาเป ปัจ. เหตุ. และ ยุ ปัจ.
ฉตฺตุสฺสาปน : นป. การยกเศวตฉัตร คือ การขึ้นครองราชย์
ฉินฺนวาสนาปารุปน : (วิ.) ผู้มีผ้าสำหรับนุ่งและ ผ้าสำหรับห่มอันขาดแล้ว.
ฉุปน : (นปุ.) การถูก, ฯลฯ. ยุปัจ.
เฉทาปน : นป. การสั่งหรือใช้ให้ตัดหรือฉีก
ชปน ชปฺปน : (นปุ.) การกล่าว, การร่าย, การกระซิบ, ความปรารถนา. ชปฺ ชปฺป วจเน มานเส จ, ยุ.
ชปน, ชปฺปน : นป. การบ่น, การพูดอุบอิบ, การพึมพำ; การสาธยาย
ญาปน : (นปุ.) การยัง...ให้รู้, การบอกให้รู้, การเผดียง การประเดียง ( บอกให้รู้ ).
ตปฺปน : (นปุ.) ความเดือดร้อน, ความเร่าร้อน, ความแผดเผา. ตปฺ สนฺตาเป. ย ปัจ. ประ จำหมวดธาตุ ยุ ปัจ.
ทปฺปณ ทปฺปน : (นปุ.) แว่น, กระจก, วิ. ทิปฺปติ เอตฺถาติ ทปฺปโณ ทปฺปโน วา. ทิปฺ ทิตฺติยํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น ทิปฺย แปลง ปฺย เป็น ปฺป ยุ เป็น อน ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
ทาปน : นป. การยังบุคคลอื่นให้ให้ทาน, การชักชวนให้บริจาค
ทิปฺปน : นป. การส่องแสง, ความรุ่งเรือง
ทีปน : ค., นป. ซึ่งส่อง, ซึ่งแสดง, ซึ่งอธิบาย, การแสดง, การชี้แจง, การอธิบาย
ทุกฺขาปน : นป. การทำผู้อื่นให้เป็นทุกข์, การก่อทุกข์
เทหนิกฺเขปน : นป. การทอดทิ้งร่างกาย, การตาย
โธปน : นป. การล้าง, การชำระ, การทำความสะอาด