ปีต : ๑. ค. อัน...ดื่มแล้ว;
๒. ค., ป. เหลือง, สีเหลือง
กณฺหปีต : (วิ.) น้ำตาลแก่, เหลืองหม่น (สี...).
ขิปีต : ๑. นป. การจาม, การแสดงการดูถูกโดยวิธีย่นจมูก;
๒. กิต. ขว้างไปแล้ว
ทาปีต : กิต. (อันเขา) ให้ให้, อันเขาให้บริจาคแล้ว
ปฏิปีต : ค. ผู้ดื่ม
ปตรติ : ก. ผ่านไป, ซึมซาบ, ข้ามไป, ไหลท่วมไป, ล้น, เดือดพล่าน
กุปิต : ค. ผู้โกรธแล้ว, ผู้ขัดเคืองแล้ว; หวั่นไหวแล้ว, กำเริบแล้ว
โคปิต : กิต. อันเขาคุ้มครองหรือรักษาแล้ว
ทุกฺขาปิต : กิต. (อันเขา) ทำให้เป็นทุกข์, อันก่อทุกข์ให้
นหาปิต : ๑. ป. ช่างตัดผม, ช่างโกนหนวด, ผู้อาบให้;
๒. กิต. อาบน้ำให้แล้ว
นิพฺพาปิต : ค. อันทำให้เย็น, อันทำให้ดับสนิทแล้ว
ปฏิกฺขมาปิต : กิต. (อันเขา) ให้อดโทษ, ตอบแล้ว, ให้ขอโทษแล้ว
ปติ : ๑. ป. ผัว, นาย, เจ้าของ;
๒. ค. เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นนาย, เป็นหัวหน้า ;
๓. อ. จาก ปฏิ ตอบ; ห้าม; ทวน; มั่น; หยุด ; เหมือน; ที่ตั้ง; ต่อหน้า; รู้ตลอด; กลับ, ทำอีก; เนืองๆ ; สรรเสริญ; เหตุ; ลักษณะ
ปริโกปิต : กิต. โกรธแล้ว, กำเริบแล้ว, แค้นเคืองแล้ว
ปิติ : อิต. ปิติ, ความยินดี, ความชื่นชม
ปิตุ : ป. พ่อ
ปีติ : อิต. ความอิ่มใจ, ความยินดี
ปีตี : ค. ผู้ดื่ม
ปูต : (วิ.) สะอาด, หมดจด, แจ่มใส, เป็นมงคล, ดี. ปุ ปวเน, โต, ทีโฆ.
ปูติ : (อิต.) ความชำระ, ความสะอาด. ปุ ปวเน, ติ.
ปูติ, - ติก : ค. เสีย, เน่า, บูด
ปูติ ปูติก : (วิ.) บูด, เน่า, เปื่อย, เปื่อยเน่า, เหม็น, ยุ. ปูยิ ทุคฺคนฺเธ, ติ. ลบที่สุดธาตุศัพท์หลัง ก สกัด.
เปต : (วิ.) ผู้ละโลกไปแล้ว, ผู้ตายแล้ว.
โปต : (ปุ.) เรือ, สัดจอง (ทุ่น แพ เรือน้อย), เรือเล็กของกำปั่น, ลูก, ลูกน้อย. ปุ ปวเน คติยํ วา, โต.
มหาปิต : ป. พ่อใหญ่, ลุง
วฺยาปิต : กิต. เข้าแทรกแซง, ปะปน
สงฺกุปิต : กิต.โกรธเคือง, กำเริบ
อภิโรปิต : กิต. ปลูก, เพาะ, ชำแล้ว; ทำใจให้ตั้งมั่นแล้ว
อโรปิต : ค. ไม่ปลูก, ไม่ตั้งไว้
อวายาปิต : ค. ไม่ให้ทอแล้ว, ไม่ให้ปั่นแล้ว
อหาปิต : กิต. ไม่พลีบูชา, ไม่เซ่นสรวง
ฉพฺพณฺณรสิ : (อิต.) รัศมีมีสีหก. ฉัพพัณณรังษี. รัศมี ๖ ประการนี้ คือ เขียวเหมือนดอก – อัญชัน เรียกนีละ ๑ เหลืองเหมือน หอ – ระดาล เรียก ปีตะ ๑ แดงเหมือน ตะวัน อ่อน เรียก โลหิตะ ๑ ขาวเหมือนแผ่นเงิน เรียก โอทาตะ ๑ สีหงสบาทเหมือนดอก เซ่งหรือดอกหงอนไก่ เรียกมัญเชฏฐะ ๑ เลื่อมพรายเหมือนแก้วผนึก เรียก ปภัสสร รัศมีทั้ง ๖ นี้ แผ่เป็นวงกลมอยู่ เบื้องหลังพระเศียรของพระพุทธเจ้า. พระ พระอรหันต์ทั้งหลาย แม้พระอัครสาวก ก็ ไม่มีรัศมีทั้ง ๖ นี้.
ภูตปติ : (ปุ.) ภูตปติ ชื่อของพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. ภูตานํ สติตานํ ปต ภูตปติ.
นิปตน : (นปุ.) การตกไปโดยไม่เหลือ, การตก, การหล่น, การล้ม, การตกไป, ฯลฯ, ความตก, ฯลฯ. นิปุพฺโพ, ปตฺ ปตเน, ยุ.
นิปาต : (ปุ.) การตกไปโดยไม่เหลือ, การตก ไปในระหว่าง, การไม่เปลี่ยนแปลง, การประชุม, ความตก, ความตกไป, ความไม่เปลี่ยนแปลง, นิบาต คือคำเรียก อัพยย- ศัพท์มี ป เป็นต้น อีกอย่างหนึ่งเรียก คัมภีร์ในพระพุทธศาสนา. นิปุพฺโพ, ปตฺ ปตเน, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. นิปาต.
ปตฺต : (นปุ.) การตก, การตกไป. ปตฺ ปตเน, โต.
ปตฺติ : (ปุ.) ทหารเดินเท้า, พลเดินเท้า, ทหารราบ, กองพลราบ. วิ. ปตฺตีติ ปตฺติ. ปตฺ คมเน, อิ, ทฺวิตฺตํ. ปเทน อตตีติ วา ปตฺติ. ปทปุพฺโพ, อตฺ สาตจฺจคมเน, อิ, อโลโป, ทสฺส โต. คนกล้าหาญ ก็แปล.
สนฺนิปาต : (ปุ.) การประชุม, การประชุมกัน, ที่ประชุม, สันนิบาต. คำ สันนิบาต ไทยใช้เป็นชื่อของไข้ชนิดหนึ่ง มีอาการสั่นเทิ้มและเพ้อ. สํ นิ ปุพฺโพ, ปตฺ คติยํ, โณ. ส. สนฺนิปาต.
สมฺปาต : (ปุ.) ฝนตกหนัก, ห่าฝน. วิ. สํ อโธ ปตตีติ สมฺปาโต. สํปุพฺโพ, ปตฺ ปตเน, โณ.
สาคล : (นปุ.) สาคละ ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ. วิ. สานํ ธนานํ อุปฺปตติฎฺฐานํ สากโร. ส+อากร ใน วิ. ใช้ อุปฺปตฺติฎฺฐาน แทน. สากดร เอว สาคลํ. แปลง ก เป็น ค ร เป็น ล.
สีหปฺปปาต : (ปุ.) สีหัปปปาตะ ชื่อสระใหญ่ สระ ๑ ใน ๗ สระ วิ. สีหา ปปตนฺติ อสฺมินฺติ สีหปฺปปาโต. สีห ป ปุพฺโพ, ปตฺ ปตเณ, โณ.
หิม : (นปุ.) ความหนาว, ความเย็น, ฤดูหนาว, น้ำค้าง, หิมะ ชื่อละอองน้ำที่แข็งรัดตัว มีลักษณะเหมือนปุย. วิ. หึสตีติ หิมํ. หึสฺ หึสายํ, อ, สสฺส โม, นิคฺคหิตโลโป. อตฺตโน สีตลภาเวน สตฺเต หิโนตีติ หิมํ. หิ หึลายํ, อิโม. หิโนตีติ หิมํ. หิ คติยํ. อภิฯ ปถวีปพฺพตาทีสุ หิโนติ ปตตีติ หิโม. หิ คติยํ, โม. กัจฯ และ รูปฯ ลง ม ปัจ. และเป็น ปุ.
อปจฺจ : (นปุ.) เหล่ากอ, เทือกเถาเหล่ากอ, เชื้อสาย, หว่านเครือ, ลูกหลาน, ลูก, บุตร.วิ.นรเกนปตติอเนนปชาชาเตนาติอปจฺจํ.
อุปฺปตน : (นปุ.) การขึ้น, การเกิดขึ้น, การอุบัติ, ความขึ้น, ฯลฯ. อุปุพโพ. ปตฺ คติยํ, ยุ. ซ้อน ปฺ.
อุปฺปาต อุปฺปาท : (ปุ.) กาลเป็นที่บังเกิดขึ้น, อาเพศแห่งดินฟ้าอากาศ แสดงผลดีผลชั่ว, ลางชี้ผลดีและผลชั่ว, อุบาต อุบาท (เหตุ การณ์ที่เกิดขึ้นผิดปกติ). วิ. สุภาสุภผลํ ปกาเสนฺโต อุปฺปตฺตีติ อุปฺปาโต, ปตฺ คติยํ, โณ, ปฺสํโยโค. การเกิดขึ้น, การบังเกิดขึ้น, เหตุ. วิ. อุปฺปตฺติ อุปฺปาโต. ศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ท. ส. อุตฺปาต อุตฺปาท.