ปน : (อัพ. นิบาต) บางที, บางคราว, ก็, แต่, ก็ แต่ว่า, ฝ่ายว่า, ส่วน, ส่วนว่า, ถึงอย่างนั้น, ถึงกระนั้น, ถึงดังนั้น, อนึ่งโสด, ด้วยแท้, เหมือนอย่างว่า, สำหรับ, แล, เล่า.
ขุรปฺป : (ปุ.) ธนู, ปืน. ขุรฺ เฉทเน, อโป, ปฺสํโยโค.
สนฺทน : (ปุ.) เกวียน, รถ, รถศึก, ปืน. สนฺทฺ ปสวเน คมเน วา, ยุ.
อุรปฺป : (ปุ.) ปืน (ดื่มอก ดื่มชีวิต). อุรปุพฺโพ, ปา ปาเน, อ, ปฺสํโยโค.
อุสฺสาน : (ปุ.) ปืน. อุรปุพฺโพ, สา สามตฺถิยํ, ยุ.
ตุณฺณิสร : (ปุ.) แล่งธนู, แล่งศร, แล่งปืน.
ตูณ ตูณีร : (ปุ.) แล่งธนู, แล่งศร, แล่งปืน. วิ. ตุเณนฺติ สเร เอตฺถาติ ตูโณ ตูณีโร วา ตูณี วา. ตูณฺ ปูรเณ, อ, อีโร วา. ศัพท์ที่ ๓ อ ปัจ. อี อิต. หรือ ลง อี ปัจ.
ตูณี : (อิต.) แล่งธนู, แล่งศร, แล่งปืน. วิ. ตุเณนฺติ สเร เอตฺถาติ ตูโณ ตูณีโร วา ตูณี วา. ตูณฺ ปูรเณ, อ, อีโร วา. ศัพท์ที่ ๓ อ ปัจ. อี อิต. หรือ ลง อี ปัจ.
พาณธี : (ปุ.) แล่งธนู, แล่งปืน. วิ. พาณา ธียนฺตฺยเตฺ-รติ พาณธี. ธา ธารเณ, ณี.
มหาฉูริกา : (อิต.) ดาบปลายปืน.
มหาสนฺทน : (ปุ.) ปืนใหญ่
มหาสนฺทนา : (อิต.) ปืนใหญ่
สุวฑฺตกี : (ปุ.) ช่างปืน.
อฏฺฐาวุธ : (นปุ.) อาวุธแปดอัษฎาวุธอาวุธแปดคือพระแสงหอกเพชรรัตน์พระแสงดาบเชลยพระแสงตรีพระแสงดาบและเขนหรือพระแสงดาบและโล่ พระแสงธนูพระแสงของ้าวแสนพลพ่าย และพระแสงปืนคาบชุดข้ามแม่น้ำสะโตง.
อฏฺฐาวุธ : (นปุ.) อาวุธแปด อัษฎาวุธ อาวุธ แปด คือ พระแสงหอกเพชรรัตน์ พระ แสงดาบเชลย พระแสงตรี พระแสงดาบ และเขน หรือ พระแสงดาบและโล่ พระ แสงธนู พระแสงของ้าวแสนพลพ่าย และพระแสงปืนคาบชุดข้ามแม่น้ำสะ โตง.
อุสุการ : (ปุ.) ช่างทำลูกศร, ฯลฯ, ช่างทำศร, ฯลฯ, ช่างศร, ช่างปืน. วิ. อุสุ กโรตีติ อุสุกาโร.
อปิจ โย ปน : (อัพ. อุปสรรค) แม้นอนึ่งโสด.
ปนสวิเสส : (ปุ.) ทุเรียน.
โคปน : (นปุ.) การคุ้มครอง, การรักษา, ความคุ้มครอง, ความรักษา. คุปฺ โคปนรกฺขเณสุ, โณ, ยุ.
โจปนวาจา : (อิต.) คำพูดอันยังผู้ฟังให้ไหว, โจปนวาจา คือ กิริยาอาการพิเศษที่เป็นไป ในคำพูด ซึ่งทำให้ผู้ฟังรู้ความประสงค์ ของผู้พูด.
ตาปน : (นปุ.) การทรมาน, ความทรมาน, ความร้อน, ฯลฯ. ตปฺ สนฺปาเต, ยุ. การทำให้ตกใจ,ความสะดุ้ง,ฯลฯ.ตปฺ อุพฺเพเค. การทำให้พอใจ. ความอิ่มใจ. ตปุ ปีณเน. ส. ตาปน.
มนฺตชปฺปน : (นปุ.) การกล่าวมนต์, การร่ายมนต์, มนฺต+ชปฺปน.
มิสฺส มิสฺสก : (วิ.) แซม, เจือ, ปน, เจือปน, ปนกัน, คละ, คละกัน, ระคน, ระคนกัน, คลุกเคล้า. มิสฺ สมฺมิสฺเส, โส. ศัพท์หลัง ก สกัด.
มิสฺส, มิสฺสก : ค. เจือ, ปน
มิสฺเสติ : ก. เจือ, ปน, ผสม
โวตฺถปน : นป. โวตถัปปน (จิต)
กญฺญชปฺปน : นป. การกระซิบ
กณฺณชปน : (นปุ.) การพูดที่หู, การกระซิบที่หู (การทำให้เขาแตกกัน). กณฺณ+ชปฺ ธาตุ ยุ ปัจ.
กปฺปน : (ปุ.) เครื่องแต่งช้าง. กปฺปฺ สาม ตฺถิยสชฺชเนสุ, ยุ.
กมฺป กมฺปน : (วิ.) อันยัง...ให้ไหว, ไหว, หวั่น, สั่น, รัว. กมฺปฺ กมฺปเน, อ, ยุ.
กมฺปน : นป., กมฺปา อิต. การไหว, ความเคลื่อนไหว
กมฺมตปฺปน : นป. ความเดือดร้อนเพราะกรรม
กายจลนสีสุกฺขิปนภมุกวิการาทิ : (วิ.) มีอัน ไหวแห่งกายและอันยกขึ้นซึ่งศรีษะและอัน กระทำต่างแห่งคิ้ว (การยักคิ้ว) เป็นต้น, มีอันกระดิกซึ่งกาย และอันสั่นซึ่งศรีษะ และอันยักซึ่งคิ้วเป็นต้น. เป็น ฉ. ตุล. มี ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ อ. ทวัน. เป็นท้อง.
การาปกฺขิปน : (นปุ.) การตัดสินจำคุก.
การาปน : นป. การสั่งให้ทำ
กุปฺปน : นป. ความโกรธ, ความเคือง, ความกำเริบ, ความสะเทือน
ขชฺโชปก ขชฺโชปน : (ปุ.) หิงห้อย.
ขมาปน : นป. การบอกให้ยกโทษให้, การให้ขอขมา
ขาทาปน : นป. การให้เคี้ยวกิน, การป้อน
ขิปน : นป. การซัดไป, การขว้างปา
เขป เขปน : (นปุ.) การทิ้ง, การขว้าง. การขว้างไป, การโยนไป, ฯลฯ. ขิปฺ ฉฑฺฑนาทีสุ, อ, ยุ.
เขปน : นป. การสิ้นไป, การหมดไป
จิตฺตปโกปน : นป. การทำจิตใจให้กำเริบ, การทำจิตใจให้หวั่นไหว, การทำจิตใจให้สั่นสะเทือน
จีวรปารุปน : (นปุ.) ที่เป็นที่ห่มซึ่งจีวร วิ. จีวรํ ปารุปตนฺติ เอตฺถาติ จีวรปารุปนํ.
เจตาปน : นป. การแลกเปลี่ยน, การซื้อขาย
โจปน : (นปุ.) การยัง...ให้ไหว, การยัง...ไห้ หวั่นไหว. จุ จวเน, ณาเป ปัจ. เหตุ. และ ยุ ปัจ.
ฉตฺตุสฺสาปน : นป. การยกเศวตฉัตร คือ การขึ้นครองราชย์
ฉินฺนวาสนาปารุปน : (วิ.) ผู้มีผ้าสำหรับนุ่งและ ผ้าสำหรับห่มอันขาดแล้ว.