Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ปุญ , then บุญ, ปญ, ปุญ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ปุญ, 69 found, display 1-50
  1. สุกฎ สุกต : (นปุ.) การทำดี, การทำให้ดี, การทำงานให้ดี, บุญ, กุศล. วิ. สุขํ กโรตีติ สุกฎํ สุกตํ วา. สุขปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, โต. ศัพท์ต้นแปลง ต เป็น ฎ. โสภนํ กรณํ อสฺสาติ วา สุกฎํ สุกตํ วา. ลบ ภน แปลง โอ เป็น อุ.
  2. นิธิ : (ไตรลิงค์) สมบัติอัน...พึงฝังไว้, ทรัพย์ อัน...พึงฝังไว้, ทรัพย์ที่รวบรวมไว้เป็นปึก แผ่น, ขุม, ขุมทรัพย์, บุญ. วิ. นิธียตีติ นิธิ. นิปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ เป็น ปุ. โดยมาก. นิธิ.
  3. ปตฺตานุโมทนามย : (วิ.) (บุญ) สำเร็จด้วยความยินดีตามซึ่งส่วนบุญอันถึงแล้ว, ฯลฯ.
  4. อุฬารปูชาธมฺมสฺสวนทีปมาลากรณาทิ : (วิ.) (บุญ) มีอันบูชาด้วยสักการะอันยิ่งและอัน ฟังซึ่งธรรม และอันทำซึ่งประทีป และ ระเบียบ เป็นต้น.
  5. กตญฺญุ, - ญู : ค. ผู้รู้บุญคุณที่คนอื่นได้ทำแล้วแก่ตน
  6. กตปุญฺญกมฺม : (วิ.) ผู้มีกรรมอันเป็นบุญอัน ทำแล้ว, ฯลฯ.
  7. กตปุญฺญตา : อิต. ความเป็นผู้มีบุญอันทำแล้ว
  8. กปฺปนา : (อิต.) ความตรึก, ฯลฯ, กัลปนา ผลบุญที่ผู้ทำอุทิศให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว ที่ ดินหรือสิ่งของ ที่เจ้าของอุทิศผลประโยชน์ อันเกิดจากสิ่งนั้น ให้แก่วัดหรือพระ ศาสนา. ส. กลฺปนา.
  9. กมฺมช : (วิ.) เกิดแต่กรรม วิ. กมฺมโต ชาโตติ กมฺมโช (วิปาโก). กมฺมโต ชาตาติ กมฺมชา (ปฏิสนฺธิ). กมฺมโต ชาตนฺติ มฺมชํ (รูปํ). ชนฺ ชนเน, กฺวิ, นฺโลโป. กมฺมโต ชาโต กมฺมโช. ต. ตัป., ปญ จ. ตัป.
  10. กมฺมภว : (ปุ.) กรรมภพ ที่เกิดของกรรมทั้ง ฝ่ายกุศลและอกุศลที่เกิดของสัตว์ผู้มีกรรม ทั้งที่เป็นอกุศลจิต และโลกิยกุศลจิต. ปุญฺ ญา ภิสงฺขาโร อปุญญาภิสงฺขาโร อเนญชา ภิสงฺขาโร อยํ กมฺมภโว. ขุ. จู ไตร. ๓๐/๒๘๕.
  11. กุสลาภิสนฺท : ป. วิบากเป็นแดนไหลออกแห่งกุศล, ผลแห่งกุศลธรรม, ห้วงบุญ
  12. จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
  13. จาริก : (วิ.) ผู้เดินไป, ผู้เที่ยวไป, ผู้เที่ยวไป เพื่อสั่งสอนหรือแสวงบุญ.
  14. จิตฺตช จิตรช : (วิ.) เกิดแต่จิต วิ. จิตฺตโส ชาโต จิตฺตโช. เกิดในจิต วิ. จิตฺตสฺมึ ชาโต จิตฺตโช. กฺวิ ปัจ. นามกิตก์ จะตอบเป็น ปญจมีตัป. สัตตมีตัป. ก็ได้. โส ปัจ. ลงใน ปัญจมีวิภัติ.
  15. ตทงฺคนิพพาน : (นปุ.) ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมีปฐมฌานเป็นต้น อัฏฐกถาให้ วิ. ว่า ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน นิพพานํ ตทงฺคนิพพานํ. ตทงฺคนิพพาน ศัพท์นี้มีในไตร. ๒๓ ข้อที่ ๕0 สูตรที่ ๙ แห่งปญจาลวรรค. ไม่ควรแปลว่า นิพพาน ชั่วขณะ ดังที่อาจารย์บางท่านแปล ควร แปลว่า ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌาน มี ปฐมฌาน เป็นต้น ตามที่อัฏฐกถาจารย์ ตั้ง วิ. ไว้ เพราะว่า “นิพพาน” นับเป็น ๑ ในโลกุตตรธรรม ๙ ไตร. ๓๑ ข้อ ๖๒0 และชาวพุทธฝ่ายเถรวาท ใช้คำ นิพพาน เป็นชื่อของจิตที่ดับกิเลสเป็นสมุจเฉทป – หานด้วยอริยมรรคที่ ๔ เป็นอกุปปา – วิมุตติอย่างเดียว เพราะฉะนั้น นิพพาน ชั่วขณะจึงไม่มี ขอฝากนักปราชญ์รุ่นหลัง ผู้หวงแหนพระพุทธศาสนาด้วย.
  16. ทกฺขิณานุปทาน : (นปุ.) การเพิ่มให้ซึ่ง ทักษิณา, ทักขิณานุปทาน ทักษิณา- นุปทาน คือ การทำบุญอุทิศส่วนกุศลเพิ่ม ให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้วหรือการทำบุญทุกๆ เจ็ดวัน นอกจากเจ็ดวันแรก ก่อนครบ ๕๐ วัน มักทำเป็นการภายในไม่บอกแขก.
  17. ทกฺขิเณยฺยเขตฺต : นป. เนื้อนาบุญอันควรซึ่งทักษิณา, บุคคลผู้เป็นดุจเนี้อนาที่ควรนำไทยธรรมมาถวาย
  18. ทานปุญฺญ : นป. บุญอันเกิดแต่การบริจาคทาน
  19. ทานานุโมทนปุญฺญ : (นปุ.) บุญคือความบันเทิงตามซึ่งทาน, บุญคือการอนุโมทนา ซึ่งทาน, บุญคือการอนุโมทนาทาน, บุญสำเร็จด้วยการอนุโมทนาทาน.
  20. ธญฺญ : (วิ.) มีบุญ, มีสิริ, ดี, เจริญ, มั่งมี, รุ่งเรือง, ร่าเริง, สำราญ, เลิศ. ธนฺ ธญุเญ, โย, นฺยสฺส โย. ทฺวิตฺตํ. รูปฯ ๓๙๓ ณฺย ปัจ. ๖๔๔ ย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๐ วิ. ธนาย สํวลฺลตีติ ธญฺญํ (เป็นไปเพื่อ ทรัพย์).
  21. นตฺถิกทิฏฺธิ : (อิต.) ความเห็นว่าบุญและบาป ไม่มี วิ. นตฺถิกํ ปุญฺญปาปํ อิติ ทิฏฺฐ นตฺถิกทิฏฺฐ. นัตถิกทิฏฐิ เป็นมิจฉาทิฏฐิอย่างหนึ่ง มีความเห็นปฏิเสธความดีหรือความชั่วที่คนทำแล้วว่าไม่มีผลแก่ผู้ทำ.
  22. ปตฺตานุโมทนา : (อิต.) ความยินดีตามซึ่งส่วนบุญอันถึงแล้ว, การอนุโมทนาซึ่งส่วนบุญ อันมาถึงแล้ว. ปตฺตาปตฺติ + อนุโมทนา. การอนุโมทนาส่วนบุญที่ผู้อื่นให้แล้ว ทินฺนปตฺติ + อนุโมทนา ลบ ทินฺน, การ อนุโมทนาส่วนบุญ ปตฺติ + อนุโมทนา.
  23. ปตฺติทาน : (นปุ.) การให้ส่วนบุญ. การให้บุญ.
  24. ปตฺติทานมย : (วิ.) สำเร็จด้วยการให้ส่วนบุญ.
  25. ปตฺติธมฺม : ป. การบำเพ็ญบุญส่งไปให้, การอุทิศส่วนบุญ
  26. ปารมิตา, ปารมี : อิต. บารมี, คุณความดีที่เคยสั่งสมมา, ความสูงส่งแห่งบุญ
  27. ปุญฺญ : นป. บุญ, ความผ่องแผ้วแห่งดวงจิต, ความสะอาด, ความสุข, ความดี
  28. ปุญฺญกฺขนฺธ : ป. กองแห่งบุญ
  29. ปุญฺญกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งบุญ
  30. ปุญฺญกฺเขตฺต : นป. เขตแห่งบุญ
  31. ปุญฺญกต : ค. ผู้มีบุญอันกระทำแล้ว
  32. ปุญฺญกาม : ค. ผู้ปรารถนาบุญ, ผู้ใคร่ต่อบุญ
  33. ปุญฺญทฺธิ : อิต. บุญฤทธิ์, อิทธิฤทธิ์อันสำเร็จด้วยบุญ
  34. ปุญฺญนุภาว : ป. อานุภาพแห่งบุญ
  35. ปุญฺญเปกฺข : ค. ผู้มุ่งบุญ, ผู้หวังบุญ
  36. ปุญฺญผล : นป. ผลแห่งบุญ
  37. ปุญฺญภาค : ป. ส่วนแห่งบุญ
  38. ปุญฺญภาคี : ค. ผู้มีส่วนแห่งบุญ
  39. ปุญฺญภูมิ : อิต. สถานศักดิ์สิทธิ์สำหรับแสวงบุญของศาสนิก
  40. ปุญฺญมย : ค. สำเร็จด้วยบุญ
  41. ปุญฺญโลก : ป. สวรรค์, โลกที่เกิดด้วยอานุภาพแห่งบุญ
  42. ปุญฺญวนฺตุ : ค. ผู้มีบุญ
  43. ปุญฺญสฺสย : ป. ธรรมเครื่องอาศัยคือบุญ, ธรรมเป็นเครื่องพึ่งพิงคือบุญ
  44. ปุญฺญสิทฺธิ : อิต. อำนาจอันอัศจรรย์ของบุญ
  45. ปุญฺญาภิสงฺขาร : ป. การสั่งสมบุญ, การกระทำบุญ
  46. ปุญฺญาภิสนฺท : ป. การหลั่งไหลแห่งบุญ, ผลของบุญ
  47. ปุพฺพเจตนา : (อิต.) ความคิดจะให้อันเกิดก่อนแต่การให้, ความตั้งใจไว้ก่อนแต่จะให้, ความตั้งใจให้ไว้ก่อนให้, ความคิดอยากจะทำ บุญที่เกิด ขึ้นก่อน ที่จะทำ.
  48. ปุพฺพเปตพลิ : (ปุ.) การบูชาแก่ญาติผู้ละไปแล้วก่อน, การบูชาแก่ญาติผู้ตายไปก่อน, เครื่องบูชาอันบุคคลทำให้ แก่ผู้ละโลกไปแล้วก่อน, เครื่องเซ่นสรวงที่กระทำให้แก่ผู้ตายไปก่อน, บุญกุศลที่อุทิศให้แก่ญาติผู้ตายไปก่อน.
  49. ปุพฺเพกตปุญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีบุญอันตนกระทำแล้วในกาลก่อน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีบุญอันได้กระทำไว้แล้วในกาลก่อน,ความเป็นผู้มีบุญอันทำแล้วในกาลก่อน, ความเป็นผู้มีบุญอันทำแล้วในชาติก่อน.
  50. โปกฺขรวสฺส : (นปุ.) ฝนมีอาการราวกะว่าน้ำในใบบัว, ฝนโปกขรพรรษ ชื่อฝนมีสีแดงตกด้วยบุญฤทธิ์ต้องการให้เปียกก็เปียก ถ้าไม่ต้องการให้เปียกก็ไม่เปียก.
  51. [1-50] | 51-69

(0.0180 sec)