Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ปุพฺพา , then ปพพา, ปุพฺพ, ปุพฺพา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ปุพฺพา, 43 found, display 1-43
  1. ปุพฺพา : อิต. ทิศตะวันออก
  2. ปุพฺพ : (อิต.) ทิศตะวันออก, ทิศบูรพา.
  3. ปุพฺพภทฺทปทา : (อิต.) บุรพภัทรบท ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๒๕ ใน ๒๗ กลุ่ม, ดาวหัวเนื้อทราย, ดาวราชสีห์ตัวผู้, ดาวเพดาน, ดาวโปฐบท ก็เรียก. วิ. ปุพฺพา จ สาภทฺทปทา เจติ ปุพฺพภทฺทปทา.
  4. ปุพฺพวิเทห : (ปุ.) บุพวิเทหะ ชื่อทวีปใหญ่ ๑ ใน ๔ ทวีป วิ. เวเทน ปญฺญาย อีหนฺติ เอตฺถาติ เวเทโห. โส เอว วิเทโห. อิมํ ทีปมุปาทาย สิเนรุโต ปุพฺพาทิสาภาคตฺตา ปุพฺโพ จ โส วิเทโห จาติ ปุพฺพวิเทโห.
  5. ปุพฺพ : (อัพ. นิบาต) ก่อน, แรก, ฯลฯ, ในกาลก่อน
  6. ปุพฺพโกฏฺฐก : ป. ซุ้มประตูด้านทิศตะวันออก
  7. ปุพฺพจริต : (วิ.) อัน...ประพฤติแล้วในก่อน, อัน...ประ พฤติแล้วในกาลก่อน,ฯลฯ,
  8. ปุพฺพเจตนา : (อิต.) ความคิดจะให้อันเกิดก่อนแต่การให้, ความตั้งใจไว้ก่อนแต่จะให้, ความตั้งใจให้ไว้ก่อนให้, ความคิดอยากจะทำ บุญที่เกิด ขึ้นก่อน ที่จะทำ.
  9. ปุพฺพชาติ : (อิต.) ชาติมีในก่อน, ชาติมีในกาลก่อน, ชาติก่อน, บุรพชาติ.
  10. ปุพฺพทกฺขิณ : (ปุ. นปุ.) ทิศตะวันออกเฉียงใต้, ทิศอาคเณย์.
  11. ปุพฺพเทว : (ปุ.) เทวดาก่อน, เทพก่อน, ปุพพเทวะ ชื่อของอสูรชื่อ ๑ ใน ๔ ชื่อ, อสูร (ครองดาวดึงส์อยู่ก่อน).
  12. ปุพฺพปโยค : (ปุ.) การประกอบทั่วก่อน, ความประกอบก่อน, ประโยคแรก, บุพประโยค บุรพประโยค (ความพยายามเบื้องต้นของการทำ).
  13. ปุพฺพปุริส : (ปุ.) บุรุษแรก, บุรุษในเบื้องต้น, บุรพบุรุษ.
  14. ปุพฺพเปตพลิ : (ปุ.) การบูชาแก่ญาติผู้ละไปแล้วก่อน, การบูชาแก่ญาติผู้ตายไปก่อน, เครื่องบูชาอันบุคคลทำให้ แก่ผู้ละโลกไปแล้วก่อน, เครื่องเซ่นสรวงที่กระทำให้แก่ผู้ตายไปก่อน, บุญกุศลที่อุทิศให้แก่ญาติผู้ตายไปก่อน.
  15. ปุพฺพพุฏฺฐายี : ค. ผู้ลุกขึ้นแต่เช้า, ผู้ลุกขึ้นก่อน, ผู้ตื่นก่อน
  16. ปุพฺพภาค : (ปุ.) กาลอันเป็นส่วนเบื้องต้น, ส่วนมีในเบื้องต้น, ส่วนเบื้องต้น, ส่วนแรก, บุพภาค, บุรพภาค.
  17. ปุพฺพสนฺนิวาส : (ปุ.) การอยู่อาศัยร่วมในก่อน, การอยู่อาศัยร่วมในกาลก่อน, การอยู่ร่วมกันในกาลก่อน.
  18. ปุพฺพเสล : (ปุ.) ปุพพเสละ ชื่อภูเขาข้างบุรพทิศ.
  19. กตปุพฺพ : (วิ.) อัน...ทำแล้วในกาลก่อน วิ. ปุพฺเพ กตํ กตปุพฺพํ. กลับบทหน้าไว้หลัง อัน...เคยทำแล้ว.
  20. กุทฺธปุพฺพ : (วิ.) โกรธแล้วในก่อน, โกรธแล้ว ในกาลก่อน, เคยโกรธแล้ว.
  21. ทิฏฺฐปุพฺพ ทิฏฺฐปุพฺพก : (วิ.) อัน...เห็นใน กาลก่อน, อัน...เคยเห็นแล้ว, เห็นแล้ว ในกาลก่อน, เคยเห็นกันแล้ว, เคยพบ กันแล้ว.
  22. ปทานุปุพฺพตา : อิต. ความที่บทเรียงต่อกันไปตามลำดับ, การเรียงลำดับคำ
  23. ภูตปุพฺพ : (วิ.) เป็นแล้วในก่อน, เคยเป็นแล้ว, เคยมีแล้ว, เคยมีมาแล้ว.
  24. ภูตปุพฺพ : (อัพ. นิบาต) ในกาลเคยเป็นแล้ว, ในกาลเคยมีแล้ว, ในกาลเคยมีมาแล้ว. นิบาตลงในอรรถกาลสัตมี รูปฯ ๒๘๒.
  25. มาสปุพฺพ : (วิ.) ก่อนด้วยเดือน.
  26. อทินฺนปุพฺพ : (วิ.) ไม่เคยให้แล้ว, ไม่เคยให้อะไรในปางก่อน.
  27. อนุปุพฺพ : (วิ.) อันเป็นไปตามซึ่งกาลในเบื้องหน้า, อันเป็นไปตามซึ่งธรรมในเบื้องหน้า, เป็นกระบวน, เป็นแบบ, เป็นฉบับ, เป็นแบบฉบับ, เป็นลำดับ.
  28. อนุปุพฺพ : ก. วิ. โดยลำดับ, โดยการสืบต่อ
  29. อนุปุพฺพตา : อิต. ความเป็นลำดับ, ความสืบต่อ
  30. อภิปุพฺพ : (วิ.) มีอภิเป็นบทหน้า, มีอภิอยู่หน้า.
  31. อภูตปุพฺพ : (วิ.) ไม่เคยเป็นแล้ว, ไม่เคยมีแล้วไม่เคยเกิดแล้ว.
  32. อลทฺธปุพฺพ : (วิ.) อันไม่ได้แล้วในก่อน, อัน.....ไม่เคยได้แล้ว.
  33. อสสริตปุพฺพ : ค. ไม่เคยท่องเที่ยวไป, ไม่เคยบังเกิดมาก่อน
  34. อาคตปุพฺพ : (วิ.) มาแล้วในก่อน, มาแล้วในกาลก่อน, เคยมาแล้ว.
  35. อุรุปุพฺพ : (นปุ.) หัวเข่า, ข้อขา.
  36. อนฺวฑฺฒมาส อนฺวทฺธมาส : (นปุ.) กึ่งแห่งเดือน โดยลำดับ, ทุกกึ่งเดือน, ทุกปักษ์. วิ. อนุปุ- พฺเพน อฑฺฒมาสํ อทฺธมาสํ วา อนฺวฑฺฒมา สํ อนฺวทฺธมาสํ วา. ลบ ปุพฺพ แปลง อุ ที่ นุ เป็น อ.
  37. มหาทีป : (ปุ.) ทวีปใหญ่, มหาทวีป. ในคัมภีร์ไตรภูมิ มี ๔ คือ ปุพฺพวิเทห อมรโคยาน ชมฺพูทีป อุตฺตรกุรุ.
  38. สีหล สีหฬ : (ปุ.) สีหล สีหฬ ชื่อชนบทพิเศษ ของอินเดีย คือประเทศสีหล ประเทศลังกา ปัจจุบันคือประเทศศรีลังกา. วิ. สีหํ ลนฺติ กณฺหนฺตีติ สีหลา. ปุพฺพปุริสา สีหลา, ตพฺพํเส ชาตา สพฺเพปิ เอตรหิ สีหลา นาม.
  39. อนฺวฑฺฒมาสอนฺวทฺธมาส : (นปุ.) กึ่งแห่งเดือนโดยลำดับ, ทุกกึ่งเดือน, ทุกปักษ์.วิ.อนุปุ-พฺเพนอฑฺฒมาสํอทฺธมาสํวาอนฺวฑฺฒมาสํอนฺวทฺธมาสํวา.ลบปุพฺพแปลงอุที่นุเป็นอ.
  40. อนุปุพฺพก : ค. ดู อนุปุพฺพ
  41. อนุปุพฺพิกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเครื่องกล่าวโดยอันเป็นไปตามซึ่งธรรมมีในเบื้องต้น, สัททชาติเป็นเครื่องกล่าวโดยอันเป็นไปตามซึ่งที่อันมีในเบื้องหน้า, สัททชาติเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งธรรมโดยลำดับ, ถ้อยที่แสดงไปตามลำดับ, การกล่าวโดยลำดับวิ.อนุปุพฺเพน กถาอนุปุพฺพิกถา.แปลงอที่สุดศัพท์เป็นอิหรือลงอิอาคมเป็นอนุปุพฺพีกถาโดยแปลง อเป็นอีบ้าง.อนุปุพฺพ เป็นต้นเมื่อเข้ามาสมาสกับศัพท์ที่สำเร็จมาจากกรฺกถฺธาตุจะแปลงอของศัพท์ต้นเป็นอิหรืออีเสมอ.
  42. อนุสวจฺฉร : (ปุ. นปุ.) ปีโดยลำดับ.อนุปุพฺพ+สํวจฺฉร.
  43. อปรเสล : (ปุ.) ภูเขาข้างทิศปัจฉิม.วิ. ปุพฺพเสลมุปาทายอปรเสโล.อปรสฺมึทิสาภาเคเสโลวาอปรเสโล.
  44. [1-43]

(0.0176 sec)