ปุรา :
(อิต.) เรือน, ฯลฯ, พระนคร. ดู ปุร(นปุ.).
ปรา : (อัพ. อุปสรรค) เสื่อม, ฉิบหาย, กลับความคือนำหน้าธาตุแล้ว ทำให้ธาตุนั้นมีความกลับกันจากเดิม อุ. ชิต ชนะแล้ว ลง ปรา เป็น ปราชิต แพ้แล้ว เป็นต้น.
ปุร : (วิ.) สูง, หน้า, ข้าง, เบื้องหน้า, เป็นประธาน, เป็นหัวหน้า. ปุรฺ อคฺคคมเน, อ.
ปุเรกฺขาร : (ปุ.) อันกระทำในเบื้องหน้า, การกระทำในเบื้องหน้า, การห้อมล้อม, ความนับถือ. ปุร+กรฺ+ณ ปัจฺ แปลง กรฺ เป็น ขรฺ ทีฆะ ลบ ณฺ คงวิภัติของบทหน้าไว้ ซ้อน กฺ รูปฯ ๕๖๖. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๑๒๔ ตั้ง ปุรา+กรฺ+ร ปัจจฺ เอา อา แห่ง ปุรา เป็น เอ.
ปุราณ : (วิ.) เก่า, ก่อน, ชั่วก่อน (สมัยก่อน), ชั่วเพรง (ครั้งก่อน), มีอยู่ก่อน, มีในก่อน, เป็นอยู่ก่อน, ร้าง, บุราณ, เบาราณ. วิ. ปุรา ภโว ปุราโณ. น ปัจ. แปลงเป็น ณ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๒ ลง ณ ปัจ. คงไว้.
ปุราตน :
(วิ.) เก่า, ก่อน, ฯลฯ. วิ. ปุรา ภโว ปุราตโน. ตน ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๒. ดู ปุราณ(วิ.)
ปุราเภท : (นปุ.) ภายหลังแห่งความตาย. วิ. เภทาย ปุรา ปุราเภทํ.
ปราชย : (ปุ.) ความไม่ชนะแก่ข้าศึก, ความแพ้แก่ข้าศึก. ปร+ อชย. ความแพ้, ความพ่ายแพ้. ปราปุพฺโพ, ชิ ชเย, โณ. รเณยุทฺเธ โย ภงฺโค โส ปราชโย นาม. อภิฯ และ ฎีกาอภิฯ
ปุรตฺถา : (อิต.) ทิศตะวันออก, ทิศบูรพา. ปุรปุพฺโพ, ภา คตินิวุตฺติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา. อภิฯ จัดเป็น อัพ.นิบาต ลงในอรรถทิศตะวันออก.
ปราชียติ : ก. (อันเขา) ให้แพ้, แพ้
ปราปร : (วิ.) อื่นและอื่นยิ่ง, สืบๆมา, ต่อๆมา, ต่อเนื่องกัน.
ปราปรเจตนา : (อิต.) ความคิดอันเกิดสืบๆมา, ความคิดต่อๆ มา,
ปราภิสชฺชนี : (วิ.) ขัดใจคนอื่น. ปร + อภิสชฺชนี.
ปราภูต : ค. ผู้เสื่อม, ผู้ย่อยยับแล้ว
ปุรตฺถาภิมุข : ค. บ่ายหน้าไปทางทิศตะวันออก
ปุรตฺถิม : (วิ.) มีในเบื้องหน้า, มีในทิศตะวันออก.
ปุรตฺถิมทิสา : (อิต.) ทิศอันตั้งอยู่ในเบื้องหน้า. ทิศตะวันออก.
ปุรตฺถิมทิสาภาค : (ปุ.) ฝั่งแห่งทิศอันตั้งอยู่เบื้องหน้า, ฝั่งทิศตะวันออก.
ปุรตฺถิมา : (อิต.) ทิศตะวันออก
ปุรตฺถิมาอนุทิสา : (อิต.) ทิศตะวันออกเฉียงใต้.
ปุรโต : (อัพ. นิบาต) ข้างหน้า, ในเบื้องหน้า, ก่อน.
ปรมฺปรา : (อัพ. นิบาต) สืบๆกันมา, ก่อนเก่า, ก่นเก่า, นานมา, โบราณนานมา. วิ. ปเร จ ปเร จ ปรมฺปรา.
อนฺเตปุร : (นปุ.) ภายในแห่งบุรี, ภายในแห่งเรือนหลวง, ภายในพระราชวัง, ห้องพระมเหสี, ห้องพระสนม.วิ.อนฺเตปุรํเคหํอนฺเตปุรํ.ปุรสฺสอนฺเตอนฺเตปุรํเคหํอนฺเตปุรํ.ปุรสฺสอนฺเตอนฺเตปุรํ.เป็นอนฺโตปุรํ.โดยแปลงอที่ต เป็นโอบ้างส.อนฺเตปุร.
กปฺปุร กปฺปูร : (ปุ. นปุ.) การบูร ชื่อต้นไม้ ชนิดหนึ่งมีกลิ่นฉุนและรสร้อน อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของตัวยาที่กลั่นมาจากต้นไม้ นั้นเป็นเกล็ดสีขาวคล้ายพิมเสน.วิ. อตฺตโน คนฺเธน อญฺญํ คนฺธํ กปตีติ กปฺปูโร. กปฺ หึสายํ, อูโร, ทฺวิตฺตํ. กปฺปติ โรคาปนเย สมตฺเถตีติ วา กปฺปูโร. กปฺปฺ สามตฺถิเย, อูโร. กัจฯ ๖๗๐ เวสฯ ๗๙๕ ลง อุรปัจ. อภิฯวิ. ตุฏฺฐิอุปฺปาเทตุ กปฺปตีติ กปฺปูรํ. กปฺปฺ สามตฺถิเย, อูโร. กปุ ตกฺโกลคนฺเธ วา, อูโร. ชื่อของต้นไม้เป็น ปุ. ชื่อของเกล็ด ที่กลั่นมาจากต้นไม้นั้นเป็น นปุ. พิมเสนก็ แปล. ส. กรฺปูร.
กุจฺฉิปุร : (วิ.) ยังท้องให้เต็ม, เต็มในท้อง (พอเต็มท้อง พออิ่มท้อง).
โคปุร : (นปุ.) ประตูเมือง, ซุ้มประตู, ซุ้มประตู เมือง. วิ. คุณฺณํ วาจานํ ปุรํ โคปุรํ.
ติทสปุร : ป. เทวบุรี, เมืองเทวดา
ตุสิตปุร : นป. เทวโลกชั้นดุสิต
เทวปุร : นป. เทวบุรี, เมืองเทวดา, เมืองสวรรค์
ธนปราชย : ค. ผู้ปราชัยในทรัพย์, ผู้เสียทรัพย์
นูปุร : นป. เครื่องประดับเท้า
ปาปุรติ : ก. ปิด, ห่อ, คลุม, ซ่อน, กำบัง
ปุริสาชญฺญ ปุริสาชานีย ปุรสาชาเนยฺย : (ปุ.) บุรุษผู้อาจในอันรู้ซึ่งกิจอันพลัน, บุรุษผู้รู้ซึ่งเหตุผลและสิ่งใช่เหตุโดยยิ่ง, บุรุษผู้อาชาไนย, บุรุษอาชาไนย.
พาหาปรมฺปรา : อิต. การคล้องแขนด้วยแขน, การควงแขนกัน
ยถาปุร : (นปุ.) เหมือนในกาลก่อน.
อปาปุรติ, อปาปุณติ : ก. เปิด (ประตู)
อวรปุร : นป. ทิศตะวันตกของเมือง
อวาปุรติ : ก. ปิด, ไข
ปุริ :
(วิ.) สูง, ฯลฯ. ปุรฺ อคฺคคมเน, อิ. ดู ปุร(วิ).
ปุรินฺท : (ปุ.) คนเป็นใหญ่ของเมือง, เจ้าเมือง. ปุร+ อินฺทฺ.
ปุริม : (วิ.) เกิดแล้วในก่อน, เกิดในก่อน, มีในก่อน, มีในเบื้องหน้า, ต้น, เดิม. ปุร+อิม ปัจ. ชาตาทิตัท.
ปุรี : (อิต.) วัง, เมือง, เมืองหลวง, นคร, พระนคร. ปุร+อี อิต.
ปุเรคามี : (วิ.) ผู้ไปก่อน, ผู้มีปกติไปก่อน, ผู้มีปกติไปข้างหน้า, ผู้เป็นหัวหน้า, ผู้นำ. ปุเร+คมฺ+ณี ปัจฺ ผู้ไปในเบื้องหน้า ปุร+คมฺ+ณี ปัจฺ ผู้มีปกติไปในเบื้องหน้า วิ. ปุเร คมนสีโล ปุเรคามี. ไม่ลบวิภัติของบทหน้า.
ปุโรหิต : (ปุ.) พราหมณ์ผู้มีประโยชน์เกื้อกูลแก่บุรี, อำมาตย์ผู้บำเพ็ญประโยชน์แก่บุรี, ปุโรหิต ประโรหิต ผู้เป็นที่ปรึกษาในทางนิติ คือ กฎหมาย ขนบธรรมเนียม จารีต ประเพณี ผู้ดำรงตำแหน่งพระอาจารย์. ปุร+หิต แปลง อ ที่ ร เป็น โอ.
จตุตฺถ : (วิ.) ที่สี่ วิ. จตุณฺณํ ปุรโณ จตุตฺโถ. จตุ+ถ ปัจ. ซ้อน ตฺ.
ฉนฺท : (ปุ.) สภาพผู้อาศัยจิตนอนอยู่, ความตั้ง ใจ, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความปรา- รถนา, ความต้องการ, ความอยาก, ความอยากได้, ความมุ่งหมาย, ความยินดี, ความรัก, ความรักใคร่, ความสมัคร, ความสมัครใจ, ความเต็มใจ, ความอยู่ในอำนาจ, อัธยาศัย, ตัณหา, พระเวท. ฉนฺทฺ อิจฺฉายํ, อ. ส. ฉนฺท. ฉนฺท ฉันท์ ชื่อคำประพันธ์อย่าง ๑ มีหลาย ชื่อ มีหลักการวางคำ ครุ ลหุ และจำนวน คำแต่ละบาทต่างๆ กัน วิ. วชฺชํ ฉาทยตีติ ฉนฺทํ. ฉทฺ สํวรเณ, อ, นิคฺคหิตาคโม. ส. ฉนฺทสฺ.
ปราค : (ปุ.) ละอองเกิดแต่ดอกไม้, ละออง ดอกไม้, เกสรดอกไม้. วิ. ปุปฺผโช รโช ปุปฺผธุลิ ปราโค. ลบ ปฺผช แปลง อุ เป็น อ ทีฆะ อ ที่ ร แปลง ช เป็น ค. ฝุ่น, ละออง, ผงหอม, จันทน์หอม.
ปราภวน : (นปุ.) ความไม่เห็นแก่กัน, ความดูแคลน, ความดูถูก, ความดูหมิ่น, นินทา. ปราปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, โณ, ยุ.
ปุรกฺข : (วิ.) กระทำในเบื้องหน้า, ห้อมล้อม, ผู้อภิเษกแล้ว (พระราชา...). ปุรปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ. แปลง กรฺ เป็น ข ซ้อน กฺ.