Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ผม .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ผม, 70 found, display 1-50
  1. ก. : ๑. ป. พระพรหม ; ลม; ไฟ ; ใจ; ๒. นป. หัว, ผม; น้ำ; ๓. ส. ใคร? อะไร? สิ่งไหน?
  2. ชฏา : (อิต.) ผมเกล้า, ผมที่เกล้า, เกล้าผม, มวยผม (ผมที่เกล้าเป็นมวยสูงขึ้น), ผม เกล้าของดาบส, เทริด ชื่อเครื่องประดับ ศรีษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า, เชิง คือตีน ซึ่งเป็นฐานที่ตั้งของบางสิ่ง บางอย่าง ชายหรือปลายของบางสิ่ง บางอย่าง, ความยุ่ง, ความรุงรัง, ความรก, ชัฏ ( ป่ารก ป่าทึบ เชิง ), ชฎา ชื่อเครื่อง สวมศรีษะ คล้ายมงกุฎ. ชฏฺ ชฏเน สงฺฆาเต วา, อ. ส. ชฎา.
  3. กายคตาสติ : (อิต.) สติอันไปแล้วในกาย, สติอันไปในกาย, กายคตาสติ คือการใช้ สติควบคุมจิตพิจารณาร่างกาย เช่น ผม ขน เล็บ เป็นต้น ให้เห็นว่าไม่งาม.
  4. เกส : (ปุ.) ผม วิ. เก สีเส เสนฺตีติ เกสา. กปุพฺโพ, สิ วุฑฺฒิยํ, อ. เก มตฺถเก เสติ ติฏฺฐตีติ เกโส. ก ปุพฺโพ, สี สเย, อ. ส.เกศ
  5. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  6. ทุมาสิก : ค. (ผม) ซึ่งงอกขึ้นมาเป็นเวลาสองเดือน
  7. ปาวาฬ : ป. ผม
  8. มุทฺธช : (ปุ.) ผม (สิ่งที่งอกบนศรีษะ) วิ. มุทฺธนิ ชายตีติ มุทฺธโช. กฺวิ ปัจ. มุทธชะ เป็น คำเรียกอักษรที่เกิดเพดานปาก.
  9. สิโรรุห : (ปุ.) ผม วิ. สิรสฺมึ รุหตีติ สิโรรุโห. สิรปุพฺโพ, รุหฺ ชนเน, อ.
  10. อุตฺตมครุห อุตฺตมงฺครุห : (ปุ.) ผม (ขนที่ งอกบนศรีษะ). อุตฺตมํคปุพฺโพ, รุหฺ ปาตุภาเว, อ.
  11. อุตฺตมงฺครุห : นป. ผม
  12. กจ : ป. ผม, เมฆ
  13. กจกลาป : ป. จุกผม, ผมเปีย
  14. กณฺหชฏิ : ป. นักพรตที่มีผมสีดำหรือมีผมเป็นมัน
  15. กณฺหสีส : ค. มีศีรษะดำ, มีผมดำ
  16. กตเวณี : ค. ผู้มีผมอันเกล้าแล้ว
  17. กากปกฺข : (ปุ.) ผมที่ขมวดไว้เป็นหย่อม ๆ (ผมเด็กขมวดแยกออกเป็น ๓ หย่อม หรือ ๕ หย่อม), ผมแหยม (ปอยผมที่เอาไว้เป็น กระจุกบนหัวนอกจากจุก), ไรผม, ปีกของ กา, ปีกกา. กากานํ ปกฺขสณฺฐ านตฺตา กากปกฺโข.
  18. กาฬเกส : ค. ผู้มีผมดำ, ผู้มีผมเป็นเงางาม
  19. กุณฺฑลเกส : ค. มีผมเป็นลอน, มีผมหยักเป็นคลื่น, มีผมดัด
  20. กุนฺตล : (ปุ.) ผม, ช้องผม. วิ. กุนฺตํ กุนฺตคฺคา การํ ลาตีติ กนฺตโล. กุนฺตสทฺทุปฺปทํ, ลา อาทาเน, อ. อถวา, กติ เฉทเน, อโล, อสฺสุตฺตํ. ส.กุนฺตล.
  21. เกสกมฺพล : นป. ผ้ากัมพลทำด้วยผม, ผ้าห่มทำด้วยผมมนุษย์
  22. เกสกมฺพลี : ค. ผู้ห่มผ้ากัมพลที่ทำด้วยผมมนุษย์ (หมายถึงอชิตเกสกัมพล)
  23. เกสกลฺยาณ : นป. ความงามแห่งผม
  24. เกสกลาป : ป. มัดแห่งผม, ปอยผม, จุกผม
  25. เกสการิก : ค., ป. ผู้แต่งผม; ช่างแต่งผม; กัลบก
  26. เกสนิวาสี : ค. (เปรต) ผู้นุ่งผม, ผู้มีผมรุงรัง, ผู้มีขนที่ลับดก
  27. เกสว : (วิ.) มีผม (ผมดก) วิ. เกสา อสฺส อตฺถีติ เกสโว. ว ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. รูปฯ ๓๘๒. ส.เกศว.
  28. เกสโสภา : อิต. ความงามแห่งผม, ผมงาม
  29. เกสหตฺถ : ป. ปอยผม, มวยผม
  30. เกสินี : (อิต.)หญิงมีผม,นางมีผมงาม.ส. เกศินี.
  31. เกสี : (ปุ.) อวัยวะมีผม, หัว. อี ปัจ.
  32. ขิตฺตจกฺขฺ : (วิ.) ผู้มีจักษุอันซัดไปแล้ว, ผู้ไม่ สำรวมจักษุ.
  33. ขุรคฺค : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงแห่งกรรมอัน บุคคลพึงทำด้วยมีดโกน (ปลงผมเสร็จ), ขณะโกนผมเสร็จ, ขณะปลงผมเสร็จ. วิ. ขุเรน กตฺตพฺพกมฺมสฺส อคฺโค ขุรคฺโค.
  34. จุมฺพฏ จุมฺมฏก จุมฺพตก : (นปุ.) เชิง, เชิงรอง, เครื่องรองภาชนะ, เทริด, เสวียน, รัดเกล้า ชื่อเครื่องประดับศรีษะเพื่อรัดผมที่เกล้าไว้ ให้แน่น, ของที่เป็นวงกลม, เครื่องสำหรับ รองของที่เทินไว้บนศรีษะ (ส่วนมากทำ ด้วยผ้าเป็นวงกลม). จุมฺพฺ วทนสํโยเค, อโฏ. สองศัพท์หลัง ก สกัดศัพท์สุดแปลง ฏ เป็น ต.
  35. จุฬ : (ปุ.) มวยผม ( ผมที่ขมวดไว้เป็นกลุ่มเป็น กระจุก ), ผมจุก, มกุฎ, มงกุฎ, จอม, ยอด, หัว. จุฬฺ เปรเณ, อ.
  36. จูลิกา, - ฬิกา : อิต. จอนผม, ผมจุก, ผมขอด, หมวกหูช้าง
  37. จูฬ : ป., จูฬา อิต. จอนผม, จุกผม, มวยผม; ขนแผง, หงอน
  38. จูฬก : ค. มียอด, มีผมจุก, มีหงอน
  39. จูฬา : (อิต.) หงอน, หงอนนกยูง, มวยผม, จุก, ผมจุก, ปิ่น ( เครื่องประดับสำหรับปักผมที่ มุ่นเป็นจุก ), จอม, ยอด, มกุฎ, มงกุฎ, หัว. จูฬฺ สญฺโจทนภาวกรเณสุ, อ.
  40. ชฏาธร : (ปุ.) คนผู้ทรงไว้ซึ่งมวยผม, ชฏิล ( นักพรตพวกหนึ่ง ), ฤษี. ชฏํ ธาเรตีติ ชฏาธโร.
  41. ชฏิย : (วิ.) ผู้มีมวยผม, ผู้มีชฎา. อิย ปัจ.
  42. ชฏิล : (ปุ.) คนผู้มีมวยผม, คนผู้มีผมมุ่นเป็น ชฎา ( มุ่นคือขมวด), ฤษี, ฤาษี, ชฏิล. วิ. ชฏา อสฺส อตฺถีติ ชฏิโล. อถวา, ชฏา อสฺส อตฺถิ โส ชฏิโล. อิล ปัจ.
  43. ชฏี : (ปุ.) ช้องสำหรับใส่ผม ( หนุนผม ), คนมี มวยผม, ฤษี, ฤาษี, ชฎิล.
  44. ชมฺม : (วิ.) ต่ำ, เลว, ถ่อย, ทราม, ลามก, ผู้ไม่ ใคร่ครวญในคุณและโทษแล้วทำ. วิ. คุณ โทเส อนิสมฺม โย กโรติ โส ชมฺโม.
  45. ตมฺพเกส : ค. มีผมสีน้ำตาล
  46. ทฺวตตีสาการ : (ปุ.) อาการสามสิบสอง, ส่วนของร่างกายสามสิบสองส่วน, ส่วนของร่างกายทางศาสนากล่าวว่ามี ๓๒ ส่วน มีผม (เกสา) เป็นต้น มีเยื่อในสมอง (มตฺถลุงคํ) เป็นที่สุด.
  47. ธมฺมมิลฺล : (ปุ.) ผมที่ถัก (ประกอบด้วยแก้วมุก ดาเป็นต้น) วิ. กุสุมคพฺภา เกสา เกสจูฬา มุตฺตาทินา พหิสํยตา สนฺตตา ธมฺมิลฺโลนาม. เอกโต กตฺวา ธรียติ พนฺธียตีติ ธมฺมิลโล. ธรฺ ธารเณ, อิโล, รสฺส มตฺตํ, ทฺวิตฺตํ, ลสฺส ลลตฺตํ จ. ฎีกาอภิฯ ไม่แปลง ล เป็น ลฺล จึงเป็น ธมฺมิล. ส. ธมฺมิลฺล.
  48. ธมฺมิลฺล : ป. ผมเปีย, ผมถัก, ผมจุก
  49. นลาฏนฺต : ป. ขอบหน้าผาก, ริมผม
  50. นิกฺเกสสีส : (ปุ.) คนมีศรีษะมีผมออกแล้ว, คนหัวล้าน.
  51. [1-50] | 51-70

(0.0160 sec)