ปณฺณิกา : อิต. ของเขียว, ใบไม้เขียว, ผัก
ฑาก : (ปุ.) ผัก (สำหรับดองหรือแกง), ผัก ดอง, เมี่ยง. วิ. เฑติ ภตฺต เมเตนาติ ฑาโก. ฑิ ปเวสเน, โณ. พฤทธิ อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อา ก สกัด หรือตั้ง ฑํสฺ+ณฺวุ ลบ นิคคหิต และ สฺ
กลีร : (นปุ.) ผัก (สำหรับดอง หรือแกง).
สก : (ปุ. นปุ.) ผัก (สำหรับทำกับข้าว). สา ปาเก, โก. ส. ศาก.
กมฺพก : ป. ผักบุ้ง, ผักทอดยอด
กลมฺพ : นป. กลมฺพก ป. ผักบุ้ง, ผักทอดยอด
กลมฺพก : (ปุ.) ผักทอดยอด (ผักบุ้ง) วิ. เก อุทเก ลมฺพตีติ กลมฺพโก (เลื้อยอยู่ในน้ำ). กปุพฺโพ, ลมฺพฺ อวสํสเน, ณฺวุ. เป็น กลมฺ- พุก บ้าง.
การเวลฺล : (ปุ.) ผักโหม.
การเวล, - เวลฺล : ป. ผักโหม, ผักไห่
กาลเวลฺล : (ปุ.) ผักโหม.
กุฏนินฺน : (นปุ.) เนระพูสี ชื่อต้นไม้ใช้ทำยา ต้นเป็นกอคล้ายผักกูด ก้านสีแดงคล้ำ.
กุทฺรุส กุทฺรุสก กุทรูส : (ปุ.) กับแก้, หญ้ากับ แก้. ชื่อไม้ล้มลุกชนิดหนึ่งใช้เป็นผัก. วิ. โกรํ รุธิรํ ทุสฺสตีติ กุทฺรุโส. โกรปุพฺโพ, ทุสฺ อปฺปีติยํ, อ, วณฺณปริยาโย, โอสฺสุตฺตํ. โกร+ทุสฺ+อ แปลง โอ เป็น อุ แล้วเปลี่ยน อักษรคือเอา ทฺ ไว้หน้า ร ศัพท์หลังทีฆะ.
คจฺฉ : (ปุ.) กอ, กอไม้, กอผัก, ต้นไม้, คมฺ คติยํ, โณ. แปลง คม เป็น คจฺฉ อภิฯ ฎีกาฯ และรูปฯ แปลง ม เป็น จฺฉ.
จุจฺจุ, จุจฺจู, (จจู) : อิต. มัน, เผือก, หัวผักกาดแดง
ชชฺชริ : (ปุ.?) ผักปลัง, ผักเบี้ย.
ชชฺฌริ : (ปุ.?) ผักปลัง, ผักไห่ ชื่อผักชนิดหนึ่ง, มะรุม, ผักคราด, ขี้เหล็ก, ต้นเอื้อง.
ฌชฺฌรี : (อิต.) มะรุม ต้นไม้ชนิดหนึ่ง ฝักยาว ใช้แกงส้ม, ผักไห่ ชื่อ ผักชนิดหนึ่งใช้ทำ ยา, ผักปลัง มีสองชนิด เถามีสีครั่งอ่อน อย่าง ๑ เถาสีเขียวอ่อนอย่าง ๑, ผักทอด ยอด (ผักบุ้ง), ฌชฺฌฺ ปริภาสนตชฺชเนสุ, อโร, อิตฺถิยํ อี.
ตนฺตุนาค : (ปุ.) เมล็ดผักกาด, เมล็ดพันธุ์ผัก กาด, ปลีน่อง (กล้ามเนื้อที่มีลักษณะคล้าย หัวปลีอยู่ด้านหลังของหน้าแข้ง).
ตมฺพก : (ปุ.) ผักทอดยอด (ผักบุ้ง). ตมฺ กํขายํ, ณฺวุ. ลง พ อักษรท้ายธาตุ รูปฯ ๕๙๘.
ตาล : (ปุ.) ตาล, ต้นตาล, โตนด ต้นโตนด (ต้นตาล). สมอพิเภก, กำมะถันเหลือง, ต้นปาล์ม, ตาละ ชื่อผักชนิดหนึ่ง, ดาล ชื่อกลอนประตู ซึ่งทำด้วยไม้ สำหรับขัด บานประตูที่มีไม้บากเท่าลูกตาล ติดไว้กึ่ง กลางบานประตูด้านในทั้งสองข้าง, ลูกดาล คือเหล็กสำหรับไขบานประตู, กุญแจ, สลัก, กลอน, เข็มขัด, หมุด, ฉิ่ง, ฉาบ, ดินหอม, ง้วนดิน, ที่นั่งของทุรคา. ตลฺ ปติฏฐายํ, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. ตาล.
ติปุฏา : (อิต.) จิงจ้อ ชื่อไม้เถาในสกุลผักทอด ยอดมีหลายชนิด ใช้ทำยาไทย. วิ. ติสฺโส ปุฏา ตจราชิโย อสฺสาติ ติปุฏา.
ธาตกี : (อิต.) สัตตบุษย์, ผักปลาป. วิ. อติสยํ ฐิตํ กโรตีติ ธาตกี. ฐิต+กรฺ+กฺวิ ปัจ. แปลง อิ เป็น อ ฐ เป็น ธ และทีฆะ ลบรฺ อี อิต.
ธาราเคห : (นปุ.) เรือนมีท่อน้ำ, ห้องสำหรับอาบน้ำ, ห้องอาบน้ำมีผักบัว.
นขร : (ปุ.) เล็บมือ, นขระ ชื่อผักหอมชนิด หนึ่ง.
นิวาปปุฏฐ : ค. อัน...เลี้ยงดูด้วยผักหรือหญ้า
ปณฺณิก : ป. คนขายของเขียว, คนขายดอกไม้, คนขายผัก
ปทาลตา : อิต. เครือดิน, ไม้เถามีลักษณะคล้ายผักบุ้งหรือแพงพวย
ปิสาจิลฺลิกา : อิต. ผักเสี้ยนผี
ปุนนฺนวา : อิต. ผักหัวแหวน
ผณิชฺชก : (ปุ.) เฉียงพร้ามอญ ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง กิ่ง ใบ และต้นสีม่วงดำ ใช้ทำยา เฉียงพร้ามอง ก็เรียก. วิ. ผณึ ชยตีติ ผณิชฺชโก. ผณีปุพฺโพ, ชี ชเย, อ. แปลง อี เป็น เอ เอ เป็น อย แปลง ย เป็น ก เป็น ผณิชฺฌก โดยแปลง ชฺ เป็น ฌฺ บ้าง. ผักคราด ตะไคร้ แมงลัก ก็ว่า.
พทาลตา : อิต. เครือดิน (ไม้เถาชนิดหนึ่งมีสัณฐานคล้ายผักบุ้งหรือแพงพวย)
พหุขาร : ป. น้ำด่างชนิดหนึ่งทำจากผักเผาไฟ
พิลงฺค : (ปุ.) น้ำผักดอง, น้ำส้ม, น้ำส้มพะอูม (เครื่องกินกับข้าวของแขก), น้ำพริก. วิ. วาตํ ลงฺคติ หีนํ กโรตีติ พิลงฺโค. วาตปุพฺโพ, ลคิ คมเน, อ, วาตสฺส พิ. วิเสเสน ลงฺ-คตีติ วา พิลงฺโค.
พิลงฺคิก : ค. ซึ่งอาศัยอยู่ในน้ำส้มหรือน้ำผักดอง
พิลงฺคิถาลิกา : อิต. ภาชนะสำหรับใส่น้ำส้มหรือน้ำผักดอง
พีชคาม : (ปุ.) พันธุ์ไม้, พีชคาม ชื่อของผักที่เกิดแต่เมล็ด เช่น แมงลัก พืชพันธุ์ที่ถูกพรากจากที่แล้วยังไม่ตายยังจะเป็นได้อีก.
มตฺถ : (ปุ.) คนที่สอ, ผักเปลา.
มธุรสา : (อิต.) จันทน์, องุ่น, คันทรง, ผักโหมหลวง, ชะเอม.
มุณฺฑา : (อิต.) ผักโหมหลวง, ชะเอม, คันทรง. คันทรงมี ๒ ชนิด เป็นต้นไม้ขนาดเล็กดอกสีเหลืองใช้ทำยา อีกชนิดหนึ่งเป็นไม้เถา ขึ้นตามป่าในที่ดินทรายใกล้ทะเล. สีหฬ เป็น มุพฺพา.
มุพฺพา : (อิต.) คันทรง, ชะเอม, ผักโหมหลวง. มุพฺพิ พนฺธเน, อ, อิตฺถิยํ อา.
สากมฎฺฐ : (ปุ.) ผักคราด, ตะไคร้.
สาสป : (ปุ.) เมล็ดพันธุ์ผักกาด, สาสฺ อนุสิฎฐยํ, อโป.
สิตปณฺณาส : (ปุ.) แมงลัก ชื่อผัก ใบคล้ายโหระพา กินได้ทั้งใบและเม็ด เม็ดนั้นแช่น้ำกินกับน้ำกะทิหวาน, อ้อยช้าง ชื่อพรรณไม้ใช้ทำยาไทย, ผักบุ้งรวม ชื่อผักบุ้งชนิดหนึ่ง ต้นเปนขนใบเล็กรสชมใช้ทำยาไทย. วิ. สิดต สุกฺโก ปณฺราโส สิตฺปณฺณาโส.
สิทฺธตฺถก : นป. เมล็ดผักกาด
สิทฺธตฺถ สิทฺธตฺถก : (ปุ.) เมล็ดพันธุ์ผักกาด วิ. สิทฺธา อตฺถา อสฺมินฺติ สิทฺธตฺโถ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
สุณิ สุณฺณิก : (ปุ.) ผักโหมหัด, กุ่มบก, แป้งระมาด.
สุสญฺญา : (อิต.) ผักโหม. สสุ หึสายํ, อโว. อสฺส, อิตฺถิยํ อี.
โสถฆาตี โสผฆาตี : (อิต.) ผักโหม, ผักหัวแหวน. วิ. โสถํ โสผํ วา หนฺตีติ โสถฆาตี โสผฆาตึ วา. หนฺ หึสายํ, อ, หนสฺส ฆาโต, อิตถิยํ อี.
โสปม : (ปุ.) ผักโหม แห้วหมู?.
อคฺคิชาลา : อิต. ๑. สัตตบุษย์ (บัวชนิดหนึ่ง); ผักปลาบ ;
๒. เปลวไฟ