คนฺธโลลุปา : อิต. แมลง, แมลงวัน, ผึ้ง
ฉปท ฉปฺปท : (ปุ.) สัตว์มีเท้าหก, ผึ้ง, แมลงภู่. วิ. ฉ ปทานิ อสฺสาติ ฉปโท ฉปฺปโท วา.
มธุกร : (ปุ.) สัตว์ผู้ทำน้ำหวาน, ผึ้ง, แมลงภู่.
มธุป : (ปุ.) สัตว์ผู้ดื่มน้ำหวาน, ผึ้ง, แมลงภู่. มธุปุพฺโพ, ปา ปาเน, อ.
มธุพฺพต : (ปุ.) สัตว์ผู้กินน้ำหวาน, ผึ้ง, แมลงภู่. มธุปุพฺโพ, วตฺ โภชเน, อ.
มธุลีห : (ปุ.) สัตว์ผู้เลียซึ่งน้ำหวาน, ผึ้ง, แมลงภู่. วิ. มธุ ลีหนีติ มธุลีโห. มธุ-ปุพฺโพ, ลีหฺอสฺสาทเน, อ.
ขุทฺทา : (อิต.) แมลงวัน, ผึ้ง, ผึ้ง ขนาดเล็ก. ขุทฺ ปิปาสายํ, โท.
จญฺจรี : อิต. ผึ้ง
มธุมกฺขิกา : (อิต.) ผึ้ง.
ขุทฺท, ขุทฺทก : ๑. ป., นป. ง้วนผึ้ง, น้ำผึ้ง, ผึ้งตัวเล็ก, ผึ้งหวี่, แมลงวัน;
๒. ค. น้อย, เล็ก, ต่ำ, ยากไร้, ไม่สำคัญ
ขุทฺทช : (นปุ.) วัตถุอันเกิดจากผึ้ง, น้ำผึ้ง.
จตุมธุร : นป. วัตถุมีรสอร่อยสี่อย่าง, ของหวานสี่อย่าง คือ เนยใส, น้ำมัน, น้ำผึ้ง, น้ำอ้อย
ฉปฺปท : ป. ผึ้ง, แตน, แมลงภู่
ฌงฺการ : ป. เสียงดังหึ่งๆ เหมือนเสียงผึ้ง
ทณฺฑกมธุ : นป. รวงผึ้งพร้อมทั้งคอน, รวงผึ้งที่ห้อยติดอยู่กับกิ่งไม้
นรท : นป. โกศชฎามังสี, ยาขี้ผึ้ง
ภ : (ปุ.) ผึ้ง, แมลงภู่.
ภมร : (ปุ.) ผึ้ง, แมลงผึ้ง, แมลงภู่, ภมร, ภมริน, วิ. ปุปผมตฺถเก ภมตีติ ภมโร. ภมุ อนวฏฺฐเน, อโร. แปลว่าเครื่องกลึง ก็มี.
ภมรี : (อิต.) ผึ้งตัวเมีย, นางผึ้ง, ฯลฯ.
มกฺขิกาเภท : (ปุ.) แมลงวัน, ผึ้งขนากเล็ก.
มกฺขิกาเภทา : (อิต.) แมลงวัน, ผึ้งขนากเล็ก.
มธฺวาสว : (ปุ.) น้ำเมาดองด้วยน้ำผึ้ง. มธุ+อาสว.
มธุกรี : (อิต.) นางผึ้ง, นางแมลงภู่.
มธุการี : (ปุ.) ผึ้ง, แมลงภู่.
มธุโกส : (ปุ. นปุ.) รวมแห่งผึ้ง, รวงผึ้ง.
มธุคณฺฑ, มธุปฏล : ป. รวงผึ้ง
มธุจฺฉิฏฺฐ : นป. ขี้ผึ้ง
มธุฉิฏฺฐ มธุจฺฉิฏฺฐ : (นปุ.) ขี้ผึ้ง. วิ. มธุหิขุทฺทชนฺตูหิ อุจฉิฏฺฐนฺตี มธุนิฏฺฐ มธุจฺฉิฏฺฐ วา.
มธุปายาส : (ปุ.) ข้าวปายาสเจือน้ำผึ้ง.
มธุปิณฺฑิกา : อิต. ขนมน้ำผึ้ง
มธุปุปฺผปาสาท : (ปุ.) ปราสาทผึ้ง.
มธุร : (วิ.) หวาน, อร่อย, ไพเราะ, งาม, มีน้ำผึ้ง, มีน้ำหวาน, มีรสหวาน. วิ. มธุ อสฺส อตฺถีติ มธุโร. มธุ อสฺมึ วิชฺชตีติ วา มธุ-โร. มธุ+ร ปัจ.
มธุรส : (ปุ.) รสแห่งน้ำหวาน, รสแห่งน้ำผึ้ง, รสแห่งอ้อย, รสแห่งน้ำอ้อย.
มธุลาช : ป. ข้าวตอกผสมน้ำผึ้ง
สิตฺถ : (นปุ.) ขี้ผึ้ง, เมล็ด, เมล็ดข้าว, เมล็ดข้าวสุก. วิ. เสจตีติ สิตฺถํ. สิจฺ ปคฆรเณ, โถ. แปลง จ. เป็น ตฺ.
สิตฺถก : (นปุ.) ขึ้ผึ้ง วิ. สิตฺถํ เอว สิตฺถกํ.
สุริยวลฺลิ : (อิต.) นมตำเลีย ชื่อไม้เถาชนิดหนึ่ง ใบหนาอวบน้ำ ที่ลำต้นมียางขาวคล้ายน้ำนม ดอกแข็ง คล้ายขี้ผึ้ง. นมตำเรีย ก็ว่า.
อปฺป : (ปุ.) แมลงผึ้ง.
อลิ : ป. ผึ้ง, แมลงภู่, แมลงป่อง
อลิอฬิ : (ปุ.) ผึ้ง, ตัวผึ้ง, แมลงภู่, แมลงป่อง, กา, นกเค้า, เหล้าหวาน.วิ.อรตีติอลิอฬิวา.อรฺคมเน, อิ, รสฺสลตฺตํ, ศัพท์หลังแปลงลเป็นฬ.ส. อลิ.
อินฺทินฺทิร : (ปุ.) ผึ้งใหญ่, ผึ้งหลวง.
อุจฺฉิฏฐโมทน : นป. ขี้ผึ้ง, สีผึ้ง
อูมิกา : อิต. แหวน; คลื่น; เสียงหึ่งของผึ้ง
โอทฺทาลก : นป. น้ำผึ้ง, รวงผึ้ง
กุฏฏ : ๑. ป. แป้ง, ผง;
๒. ค. บีบ, คั้น
ปิฏฺฐ : นป. หลัง, ด้านหลัง; พื้น; แป้ง, ผง
ธุลี : (อิต.) ผง ละออง, ฝุ่น, ดินปืน. ธุ วิธุนเน, ลิ, ทีโฆ, หรือไม่ทีฆะ โดยลง อี อิต. ก็ได้, ดู ธูลี.
กจฺฉุจุณฺณ : นป. ผงเต่าร้าง, ผงหมามุ่ย
กฏฺฐ การ : (ปุ.) ช่างไม้ วิ. กฏฺฐํ กโรตีติ กฏฺฐ กาโร. ณ ปัจ. กฏฺฐ าริ (ปุ.อิต.) ผึ่ง ชื่อเครื่องมือสำหรับถาก ไม้ชนิดหนึ่ง รูปคล้ายจอบ ใส่ด้ามยาว สำหรับถือถาก ใบหนากว่าจอบ แต่โค้งงอ มาทางผู้ถือด้าม.
กิฏิพ : (นปุ.) โรคเรื้อนผง?