ผุลิงฺค : (นปุ.) ประกายไฟ, แสงที่กระจายออกจากไฟ. วิ. ผุลฺลํ คจฺฉตีติ ผุลิงฺคํ. กฺวิ ปัจ. ลบ ล. สังโยค และที่สุดธาตุ เป็น ผูลิงฺค ก็มี.
ผุสติ : ก. ถูกต้อง, สัมผัส, บรรลุ, ได้รับ; เป็นประกาย; โปรย, พรม
ผุสน : (นปุ.) การถูก, การถูกต้อง, ธรรมชาติอันบุคคลพึงถูกต้อง, สัมผัส.
ผุสนา : (อิต.) การถูก, การถูกต้อง, ธรรมชาติอันบุคคลพึงถูกต้อง, สัมผัส.
ผุสายติ : ก. โปรย, พรม
ผุสิต : (นปุ.) หยาดน้ำ, เมล็ด. ผุสฺ ผุสเน, โต, อิอาคโม.
ผุสิตก : (วิ.) มีเม็ด, มีเมล็ด.
ผุสิตุ : อ. (ปฐ., จตุ.) การถูกต้อง, การสัมผัส; เพื่อถูกต้อง, เพื่อสัมผัส
ผุสียติ : ก. (อันเขา) ถูกต้อง, สัมผัส
ปภงฺค, ปภงฺคุ : ค. แตก, หัก, ผุ, พัง, เปราะ, เปื่อย
ญาณผุสนา : (อิต.) ธรรมชาติอันบุคคลพึงถูก ต้องคือญาณ, ความถูกต้องคือญาณ,ความถูกต้องด้วยญาณ.
ถุลฺลผุสิตก : ค. ซึ่งมีหยดใหญ่, (ฝน) มีเม็ดโต
ผุนติ, ผุนาติ : ก. สั่น, หวั่นไหว, โคลงเคลง, ฝัด, โปรย, พรม
ผุล ผุลน : (นปุ.) อันสั่งสม, อันสะสม, อันรวบรวม, อันแผ่, อันขยาย, การสั่งสม, ฯลฯ, ความสั่งสม, ฯลฯ. ผุลฺ สญฺจเย ผรเณ จ, อ, ยุ.
วิปฺผุรณ : นป. การแทรกซึม
วิปฺผุรติ : ก. สั่นสะเทือน
วิปฺผุลิงฺค : นป. ประกายไฟ
สมฺผุสติ : ก. ถูกต้อง
สมฺผุสนา : อิต. การถูกต้อง
อนุผุสียติ : ก. ให้หยดลง, ให้ตกลง
อผุสิต : กิต. ไม่ถูกต้องแล้ว, ไม่ได้สัมผัสแล้ว
อาผุสติ : ก. สัมผัส, ถูกต้อง, กระทบ
อุทกผุสิต : นป. หยาดน้ำ
โกลาป โกฬาป : (วิ.) ผุ
ผุฏ : (วิ.) สูง, นูน, สูงขึ้น, นูนขึ้น, ฝัด, โปรย. ผุ อุนฺนเต, โต, ตสฺส โฏ.
กลิงฺคร : ป., นป. ไม้ผุ, แกลบ, ข้าวลีบ, ท่อนไม้, ดุ้นฟืน
ชลฺลิกา : อิต. หยาดเหงื่อ, ของสกปรก (ขี้ไคล); สะเก็ดไม้ผุ
ปภงฺคุณ : (วิ.) เปื่อยเน่า, เปื่อยผุ, ผุพัง, ย่อยยับ. ปปุพฺโพ, ภญฺชฺ อวมทฺทเน, อุโณ. แปลง ชฺ เป็น คฺ แปลง ญฺ เป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ หรือแปลง ญฺ เป็น งฺ ก็ได้.
ปภงฺคุณ, - คุร : ค. แตกสลาย, ผุพัง, ย่อยยับ, เปื่อยเน่า, เปื่อยเปราะ
ผสฺส : (ปุ.) อันกระทบ, อันถูกต้อง, การกระทบ, การถูกต้อง, ความกระทบ, ความถูกต้อง. วิ. ผุสนํ ผสฺโส. ผัสสะ อารมณ์ วิ. ผุสิยเตติ ผสฺโส ผุสิตพฺโตติ วา ผสฺโส. ผุสฺ สมฺผสฺเส, อ, ผสสฺส ผสฺโส (แปลง ผุส เป็น ผสฺส). อภิฯ. รูปฯ ๕๖๑ ลง ณ ปัจ. สัมปยุตตธรรม ประกอบด้วยสิ่งนั้น ชื่อผัสสะแต่ละอย่าง เช่น ตากระทบรูป เป็นต้น.