ฉวิ : (วิ.) งาม, รุ่งเรือง, เปล่งปลั่ง, ผ่องใส, สุกใส, ฉิ ทิตฺติยํ, ณิ. แปลง อิ ที่ ฉิ เป็น อุ พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว.
ปภสฺสร : (วิ.) อันเป็นแดนซ่านออกแห่งรัศมี วิ. ปภา สรติ เอตสฺมาติ ปภสฺสโร. ปภาปุพฺโพ, สรฺ อกฺเขเป, อ. มีรัศมีเป็น แดนซ่านออก วิ. ปภสฺสโร อสฺส อตฺถีติ ปภสฺสโร. ณ ปัจ. ตทัตสัตถิตัท. ผ่อง, ผุดผ่อง, ผ่องใส, เลื่อมๆ พรายๆ ( สี... ), พราวๆ (แสง... ), สุกปลั่ง ( ของ... ). ปปุพฺโพ, ภา ทิตฺติยํ, สโร, รสฺโส, สฺสํโย- โค. ภสฺ ภาสทิตฺติยํ วา, อโร. อถวา, ปภา- ปุพฺโพ, สุ ปคฺฆรเณ, อโร.
ภสฺสร : (วิ.) แจ่มใส, ผ่องใส, ผุดผ่อง, รุ่งเรือง. ภา ทิตฺติยํ, สโร. รัสสะ อา เป็น อ แปลง ส เป็น สฺส.
มณฺฑ : (วิ.) กำจัดมือ, ใส, ผ่อง, ผ่องใส, สว่าง, สะอาด, หมดจด, มปุพฺโพ, ฑิ ขิปเน, อ, นิคฺคหิตาคโม.
วิปฺปสนฺน : ค. เสื่อมใส, ผ่องใส
สุจิ : (วิ.) ขาว, เผือก, เผือกผ่อง, ผ่องใส, สะอาด, หมดจด, บริสุทธิ์. สุจฺ โสจเน. ปกาสเน วา, อิ. ส. ศุจิ.
อจฺฉ : (วิ.) ใส, ผ่องใส, แจ่มใส, ไม่มีมลทิน.วิ.น ฉินฺทติทสฺสนนฺติอจฺโฉ.นปุพฺโพ, ฉิทิ ทฺวิธากรเณ, โณ, ทิโลโปจฺสํโยโค. ส. อจฺฉ.
สุวิมล : (วิ.) มีมลทินไปปราศแล้วด้วยดี, ใสดี, ผ่องใส.
อนาวิล : (วิ.) ไม่กำเริบ, ไม่ขุ่นมัว, ผ่องใส.
ปสนฺน : ค. ผ่องใส, เบิกบาน, พอใจ, เลื่อมใส ; ไหลออก
เจโตปสาท : ป. ความผ่องใสแห่งจิต, ความอิ่มใจ
ปสนฺนตา : อิต. ความเป็นของผ่องใส, ความบริสุทธิ์
ปสาท : ป., นป. ความผ่องใส, ความเบิกบาน, ความบริสุทธิ์, ความยินดี, ความพอใจ, จิตที่มีความสุขผ่องแผ้ว, ศรัทธา, ความสงบระงับ; ประสาท เช่น “ประสาทตา” เป็นต้น
โพธิมณฺฑ : (ปุ.) ประเทศเป็นที่ผ่องใสแห่งปัญญาชื่อว่า โพธิ, ประเทศเป็นที่ผ่องใสแห่งโพธิญาณ.
สามุกฺกสิกเทสนา : (อิต.) เทสนาอันพระพุทธเจ้าทรงให้รุ่งเรืองด้วยพระองค์เอง, เทศนาที่พระพุทธเจ้าทรงให้ผ่องใสด้วยพระองค์เอง, พระธรรมอันพระพุทธเจ้าทรงให้รุ่งเรืองด้วยพระองค์เอง, ฯลฯ. คือ อริสัจ ๔.
สามุกฺกสึกธมฺม : (ปุ.) เทสนาอันพระพุทธเจ้าทรงให้รุ่งเรืองด้วยพระองค์เอง, เทศนาที่พระพุทธเจ้าทรงให้ผ่องใสด้วยพระองค์เอง, พระธรรมอันพระพุทธเจ้าทรงให้รุ่งเรืองด้วยพระองค์เอง, ฯลฯ. คือ อริสัจ ๔.
สุจิร : (วิ.) มีความผ่องใส, ฯลฯ. ร ปัจ. ตทัสสัตทิตัท.
อปฺปสนฺน : ค. ๑. ไม่เลื่อมใส ;
๒. ไม่ใส, ไม่ผ่องใส
อภิเจตสิก : ค. มีจิตผ่องใสยิ่ง
อภิปฺปสนฺน : ค. อันเลื่อมใสยิ่ง, อันผ่องใสยิ่ง