ตีร : (นปุ.) ท่าน้ำ,ฝั่ง,ตลิ่ง,เตียร,เดียร,วิ. ชลํ ตายตีติ ตีรํ. ตา ปาลเน, โร, อาสฺสี. ตีรฺ กมฺมสามตฺถิเย, อ. เป็น ติร บ้าง . ส ตีร.
โรธ : ป., โรธน นป. การป้องกัน, การกั้น, การล้อม, การกักขัง; ฝั่ง
ตฏี : (อิต.) ฝั่ง, ตลิ่ง, ตลิ่งชัน, ท่า, ริม, เหว, ริมเหว, ปากเหว, เขาขาด. ตฏฺ อุสฺสเย อ. ศัพท์หลังลง อี อิต.
ปรตีร : (นปุ.) ฝั่งอื่น, ฝั่งโน้น, ฟากโน้น . ฟาก คือ ฝั่ง, ข้าง.
กูลเทส : (ปุ.) ฝั่งแห่งมหาสมุทร, ฝั่งมหาสมุทร.
คงฺคาตีร : นป. ฝั่งแม่น้ำ
คงฺคาปาร : นป. ฝั่งโน้น
คาธ : (ปุ.) ความเป็นที่พึ่ง, ความเป็นที่อาศัย, การนับเข้า, การรวมเข้า, การหยั่งลง, ความหยั่งลง, การแต่งตั้ง, การร้อยกรอง, ฝั่งน้ำ. คาธุ ปติฏฺฐนิสฺสยคนฺเถสุ, อ.
จุลฺลกี : อิต. หมูทะเล; หม้อน้ำ; ฝั่งนั้น
เชตวนโปกฺขรณีตีร : (นปุ.) ฝั่งแห่งสระโบก – ขรณีใกล้พระวิหารเชตวัน.
ติตฺถกร : ป. ผู้ตั้งลัทธิ, เจ้าลัทธิ, ผู้กระทำซึ่งฝั่ง
ตีรทสฺสี : ค. ผู้เห็นฝั่ง, ผู้พบฝั่ง
ตีริย : ค. ผู้อาศัยอยู่บนฝั่ง
นฎีตฎ : (ปุ.) ฝั่งแห่งแม่น้ำ, ตลิ่งชันแห่ง แม่น้ำ. นที+ตฎ แปลง ที เป็น ฏี.
นทีกูล : นป. ฝั่งนที, ฝั่งแห่งแม่น้ำ
ปฏิติตฺถ : นป. ฝั่งตรงข้าม (ของแม่น้ำ)
ปติตฺถ : นป. ท่า, ท่าน้ำ, ฝั่งน้ำ
ปาร : นป. ฝั่งอื่น, ฝั่งโน้น; นิพพาน
ปาร : ก. วิ. ฝั่งโน้น
ปารคต : ค. ถึงฝั่ง, ถึงพระนิพพาน
ปารคเวสี : ค. ผู้แสวงหาฝั่ง, ผู้แสวงหาพระนิพพาน
ปารคามี : ค. ผู้ไปสู่ฝั่งโน้น
ปารคู : ค. ผู้ถึงฝั่ง, ผู้บรรลุพระนิพพาน
ปารตฺถิก : ค. ผู้มีความต้องการจะข้ามฝั่ง
ปารโต : ก. วิ. จากฝั่งโน้น, แต่ฝั่งโน้น
ปาราวาร : ป. ทะเล, ฝั่งโน้น
ปาริม : ค. อันมีในฝั่งโน้น (มักใช้ในรูปสมาสว่า ปาริมตีร = ฝั่งโน้น)
ปุรตฺถิมทิสาภาค : (ปุ.) ฝั่งแห่งทิศอันตั้งอยู่เบื้องหน้า, ฝั่งทิศตะวันออก.
ภวปาร : (นปุ.) ฝั่งแห่งภพ, พระนิพพาน.
ภวปารคู : (วิ.) ผู้มีปกติถึงซึ่งฝั่งแห่งภพ วิ. ภวปารํ คมนสีโลติ ภวปารคู. ผู้มีปกติกระทำดีในการถึงซึ่งฝั่งแห่งภพ วิ. ภวปารํ คมเน สาธุการีติ ภวปารคู. รู ปัจ. รูปฯ ๕๗๖.
มนฺตปารคู : (วิ.) ผู้ถึงซึ่งฝั่งแห่งมนต์, ผู้เรียนจบมนต์, ผู้ถึงซึ่งฝั่งแห่งเวท, ผู้เรียนจบเวท.
อตีรทสฺสี : ค. ซึ่งมองไม่เห็นฝั่ง
อนฺตกร : (ปุ.) ชนผู้กระทำซึ่งที่สุดคือช่วยให้รอดฝั่ง.
อนุกุล, อนุกูล : ค. ไปตามฝั่ง; เกื้อกูล, อารี, สมควรแก่
อนุตีร : นป. สิ่งที่อยู่ตามฝั่ง
อนุตีร, อนุตีเร : ก. วิ. ใกล้ฝั่ง, ริมฝั่ง, ตามฝั่ง
อนุนทีตีร : นป. ตามฝั่งแม่น้ำ
อโนรปาร : ค. ไม่มีทั้งฝั่งข้างนี้และฝั่งข้างโน้น
อปารเนยฺย : ค. ไม่นำไปสู่ฝั่งอื่น
อุปกูล : นป. ฝั่งแม่น้ำ
โอปาร : (นปุ.) ฝั่งนี้. อิม+ปาร แปลง อิม เป็น อุ แปลง อุ เป็น โอ. ฝั่งโน้น. อมุ+ปาร ลบ มุ แปลง อ เป็น โอ.
โอร : (นปุ.) ฝั่งนี้, ฝั่งใน, ฟากฝั่งนี้, ภายใน. วิ. อวเร ตีเร เทเส ภวํ โอรํ. ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. โอรํ (อัพ, นิบาต) ฝั่งใน, ในฝั่งใน, ในฝั่งนี้, ในภายใน, ภายใน. ลงในอรรถสัตมี.
โอร : ก. วิ. ภายใต้, ฝั่งนี้, น้อยกว่า
โอรปาร : นป. เบื้องต่ำและเบื้องสูง, ฝั่งนี้และฝั่งโน้น
โอรมติ : ก. หยุดอยู่, พักอยู่ฝั่งนี้
โอรมาเปติ : ก. ให้งดเว้น, ให้พักอยู่ฝั่งนี้
โอรโส : ก. วิ. โดยทางฝั่งนี้
โอริมตีร : (นปุ.) ฝั่งนี้.