กีฬาเปติ : ก. ให้เล่น, ฝึก, ซ้อม
กุณฺฑิก : ค. ผู้ดัด, ผู้ฝึกให้คดหรือให้โค้ง (ในคำว่า อหิกุณฺฑิก หมองู)
คามณิย, - ณีย : ป. คนฝึกช้างและม้าเป็นต้น
คามณีย : (ปุ.) นายสารถี, คนฝึกช้างและม้า เป็นต้น, หมอช้าง, ควาญช้าง. วิ. คามํ เนติ สิกฺขาเปตีติ คามณีโย. คามปุพฺโพ, นี นเย, โย, นสฺสโณ. คามํ หตฺถาทิสมูห เนตีติวาคามณีโย.คมน วา สิกฺขาเปตีติ คามณีโย. คมน+ณีย ปัจ. อภิฯ น. ๔๐๒.
ชาติสินฺธว : ป. ม้าที่ฝึกดี, ม้าประเสริฐ
ทนฺติ : (อิต.) การทรมาน, การฝึก, การฝึกหัด, การฝึกฝน, ความทรมาน, ฯลฯ. ทมฺ ทมเน, ติ. แปลง มฺ เป็น นฺ หรือแปลง ติ เป็น นฺติ แล้วลบที่สุดธาตุ.
ทม : (ปุ.) การทรมาน, การฝึก, การฝึกหัด, การฝึกฝน, การฝึกสอน, การข่ม, การข่มขี่, การข่มใจ, การปราบ, การอดทน, ความทรมาน, ฯ ลฯ , อาชญา, การปรับไหม, ความรอบรู้, ปัญญา. วิ. ทมนํ ทโม. ทมฺ ทมเน, อ. ส. ทม.
ทมก : (ปุ.) คนผู้ฝึก, ฯลฯ. ทมฺ ทมเน, ณฺวุ.
ทมฺม : (ปุ.) โคหนุ่ม (ผู้ควรแก่การฝึก), โคตอน?
ทมิต : กิต. (อันเขา) ฝึกแล้ว, ข่มแล้ว, ทรมานแล้ว
ทเมติ : ก. ฝึก, ข่ม, ทรมาน, บังคับ, สอน, ชักจูงให้มานับถือ
ทเมตุ : ป. บุคคลผู้ฝึก, ผู้ข่ม, ผู้ทรมาน
ทาม : (วิ.) ผู้ฝึก, ฯลฯ. ทมฺ ทมเน, โณ.
นาวิกโยธิน : (ปุ.) นาวิกโยธิน ชื่อทหารเรือ ที่ประจำการเป็นพลรบฝ่ายบก คือเป็น ทหารเรือแต่อยู่บนบกและฝึกการรบแบบ ทหารราบ. นาวิกโยธ+อิน ปัจ.
ปริภาวิต : กิต. อบรมแล้ว, เจริญแล้ว, ฝึกแล้ว, ซึมซาบแล้ว
ปุริสทมฺม : (ปุ.) คนผู้อัน...พึงทรมานได้, คนผู้อัน...พึงฝึกได้, คนที่พอฝึกได้, คนที่ควรฝึก.
ปุริสทมฺมสารถี : ค. เป็นสารถีฝึกคนที่พอฝึกได้
วินีต : กิต. แนะนำแล้ว, ฝึกแล้ว
วิเนติ : ก. ฝึก, ย่อมแนะนำ
วิเนยฺย : ค. ควรฝึก, ควรแนะนำ
สราภฺยาส : (ปุ.) การฝึกยิง วิ. นิจฺจํ สรานํ อภฺยสนํ วสีกรณํ สรภฺยาโส. อสุ เขปเน, โณ.
สุทนฺต : ค. มีฟันงาม, มีงางาม ; ฝึกดีแล้ว
สุวินย : (วิ.) ผู้อันบุคคลแนะนำได้โดยง่าย, ผู้สอนง่าย, ผู้ว่าง่าย, ผู้ตัดง่าย, ผู้ฝึกง่าย.
อวินีต : ค. ฝึกไม่ได้, สั่งสอนไม่ได้
อสฺสทมก : ป. คนฝึกม้า, ผู้ฝึกม้า
อสฺสทมฺม : ป. ม้าที่ได้รับการฝึกแล้ว
อหิคาห : ป. คนจับงู, คนฝึกงู
อุปาสน : (นปุ.) การยิง, การฝึกยิง. อุปปุพฺโพ, อสุ เขปเน, ยุ.
อุสภาชาเนยฺย : (ปุ.) โคผู้รู้ซึ่งเหตุและภาวะมิ ใช่เหตุโดยยิ่ง, โคผู้ ผู้อาจในอันรู้ซึ่งกิจ โดยพลัน, โคผู้อาชาไนย (ผู้ได้รับการฝึก มาดีแล้วรู้เหตุและภาวะมิใช่เหตุได้รวดเร็ว).