ธูลี : (อิต.) ผง, ละออง, ฝุ่น, ดินปืน ธุ วิธุนเน, ลิ, ทีโฆ. ธู กมฺปเน วา. เป็น ธูลิ โดยไม่ทีฆะบ้าง. ส. ธูลิ.
เรณุ : ป.,อิต. ผง, ฝุ่น, ละออง
ธุลี : (อิต.) ผง ละออง, ฝุ่น, ดินปืน. ธุ วิธุนเน, ลิ, ทีโฆ, หรือไม่ทีฆะ โดยลง อี อิต. ก็ได้, ดู ธูลี.
รถเรณุ : ป. มาตราชั่งประมาณ ๓๖ ตัชชารี; ละออง, ขี้ฝุ่น
ปราค : (ปุ.) ละอองเกิดแต่ดอกไม้, ละออง ดอกไม้, เกสรดอกไม้. วิ. ปุปฺผโช รโช ปุปฺผธุลิ ปราโค. ลบ ปฺผช แปลง อุ เป็น อ ทีฆะ อ ที่ ร แปลง ช เป็น ค. ฝุ่น, ละออง, ผงหอม, จันทน์หอม.
เสท : (ปุ.) เหงื่อ, เหื่อ (ภาษาเก่า), ไคล(เหงื่อที่ปนกับฝุ่นละอองติดกรังอยู่กับหนังกำพร้า). วิ. เสตีติ เสโท. เส ปาเก, โต, ตสฺส โท. พ่อครัว ก็แปล.
ธูลิ : อิต. ธุลี, ฝุ่น
ปสุ : ป. ฝุ่น, ปุ๋ย
ปสุกูล : ๑. นป. กองฝุ่น;
๒. ค. คลุกด้วยฝุ่น (ผ้า)
ปสุกูลจีวร : นป. ผ้าบังสุกุล, ผ้าคลุกฝุ่น
สริต สริตก : (นปุ.) ฝุ่นหิน.
หิม : (นปุ.) ความหนาว, ความเย็น, ฤดูหนาว, น้ำค้าง, หิมะ ชื่อละอองน้ำที่แข็งรัดตัว มีลักษณะเหมือนปุย. วิ. หึสตีติ หิมํ. หึสฺ หึสายํ, อ, สสฺส โม, นิคฺคหิตโลโป. อตฺตโน สีตลภาเวน สตฺเต หิโนตีติ หิมํ. หิ หึลายํ, อิโม. หิโนตีติ หิมํ. หิ คติยํ. อภิฯ ปถวีปพฺพตาทีสุ หิโนติ ปตตีติ หิโม. หิ คติยํ, โม. กัจฯ และ รูปฯ ลง ม ปัจ. และเป็น ปุ.
อุกฺขลิมสิ : (นปุ.) เขม่าที่ก้นหม้อ, ดินหม้อ (ละอองดำ ๆ ซึ่งเกิดจากควันไฟที่หุงข้าว ด้วยฟืนติดอยู่ที่ก้นหม้อ).
อุปฺโปฐน : นป. การโบยตี, การเฆี่ยน, การปัดฝุ่น
อุปฺโปเฐติ : ก. โบยตี, เฆี่ยน, ปัดฝุ่น
อุล : (นปุ.) ละอองน้ำ. อุลฺ คมเน, อ.
กรุณาชล : นป. น้ำแห่งความกรุณา, สาย (ฝน) แห่งความเอ็นดู
ถุลฺลผุสิตก : ค. ซึ่งมีหยดใหญ่, (ฝน) มีเม็ดโต
ปเทสวสฺสี : ค. (ฝน) ซึ่งตกในที่บางส่วน, (บุคคล) ผู้เป็นดุจฝนตกเฉพาะที่บางส่วน คือให้ทานแก่คนไม่ทั่วหน้า
ปวุฏฺฐ : ค. ซึ่งตกแล้ว (ฝน)
อชิมุตฺต : (ปุ.) เมฆ, ฝน.
โอวสฺสติ : ก. ตกลง, โปรยลง (ฝน)
กทกี : อิต. เครื่องป้องกันฝน, เครื่องป้องกันน้ำ
กรกวสฺส : นป. ฝนลูกเห็บ
ขชล : ป. หิมะแข็ง, น้ำฝน
ขวาริ : (นปุ.) น้ำตกจากฟ้า, น้ำฝน. ปัญจ. ตัป.
คลติ : ก. หยาด, หยด, ฝนตก, ไหล, เลื่อนไป, พลัด, หล่น, กลืนกิน
ฆนกรกวสฺส : (นปุ.) ฝนอันบุคคลพึงถือเอา ด้วยมือโดยความเป็นก้อน, ฝนอันทำซึ่ง ความเป็นแท่ง, ฝนลูกเห็บ.
ฆนเมฆวสฺส : (นปุ.) ฝนอันเกิดจากเมฆเป็น ก้อน, ฝนลูกเห็บ.
ฆโนปล : (นปุ.) ลูกเห็บ คือเม็ดน้ำแข็งที่ตกลง มาจากอากาศเมื่อฝนตก วิ. ฆนโต ฆนกาเล วา สญฺชาติ อุปสํ สิลา ฆโนปล.
จตุทฺทีปิก : ค. (มหาเมฆ) อันปกคลุมทวีปทั้งสี่, (พายุฝน) อันพัดแผ่ไปทั่วทั้งสี่ทวีป
ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
ชลท : ป. เมฆฝน
ทุทฺทิน : นป. วันชั่ว, วันเคราะห์ร้าย, วันครึ้มฟ้าครึ้มฝน
ทุทิน ทุทฺทิน : (นปุ.) วันพยับฝน, วันอากาศ ชื้น, วันฟ้าชอุ่ม, วันฟ้าชอุ่มฝน, วันมืด ฝน, วันครึ้มฟ้าครึ้มฝน, ทุรทิน. วิ. ทุฏฺฐุ ทุฎฐ วา ทินํ ทุทินํ ทุทฺทินํ วา.
ทุพฺพุฏฐ ทุพฺพุฏฐกา : (อิต.) ฝนแล้ง. ทุ+วุฏฺฐ, วุฏฺฐกา.
ทุพฺพุฏฺฐิก : ค., นป. ซึ่งมีฝนไม่ดี, ซึ่งมีฝนแล้ง; คราวข้าวยากหมากแพง, คราวฝนแล้ง
เทวมาติก : (ไตรลิงค์) ที่มีข้าวกล้าสำเร็จด้วยฝน. วิ. เทโว มาตา อสฺสาติ เทวมาติโก. พหุพฺพีหิมฺหิ โก. วุฎงินิปฺผชฺชสฺสกเทส ประเทศมีข้าวกล้าสำเร็จด้วยฝน ฎีกาอภิฯ.
ธารา : (อิต.) การทรง, การรับไว้, การหนุน, ความทรง, ฯลฯ, ความสืบต่อ, คม, คม ดาบ, สายฝน (ที่ตกหนัก), สายน้ำ, กระแสน้ำ, ลำธาร, ห้วย, หยาดน้ำ, ท่อ, ท่อน้ำ, ลำราง. วิ.เวคํ ธาเรตีตฺธารา. เป็น ปุ. บ้าง. ส. ธารา.
ธาราสมฺปาต : ป. สายฝน, ฝนตกหนัก, ท่อธาร
ปชฺชุนฺน : ป. เมฆฝน, เจ้าแห่งฝน
ปริตฺตาณกิฏิก : (ปุ.) แผงป้องกันฝนสาด, กันสาด ชื่อเพิงที่ต่อจากชายคาสำหรับ กันฝน. ปริตฺตาณ+กิฎิก.
ปวสฺสติ : ก. ฝนตก, ฝนเริ่มตก
ปวสฺสน : นป. การตกแห่งฝน, ฝนตก
ปาวุส : ป. ฝน, ฤดูฝน; ปลากระบอก
ปาวุสฺสก : ค. เกี่ยวกับกาลฝนหรือฤดูฝน
ปาสาณวสฺส : นป. ฝนหิน, ฝนที่เป็นหิน (ซึ่งอาฬวกยักษ์บันดาลให้ตกลงมาเพื่อทำร้ายพระโคตมพุทธ)
โปกฺขรวสฺส : (นปุ.) ฝนมีอาการราวกะว่าน้ำในใบบัว, ฝนโปกขรพรรษ ชื่อฝนมีสีแดงตกด้วยบุญฤทธิ์ต้องการให้เปียกก็เปียก ถ้าไม่ต้องการให้เปียกก็ไม่เปียก.
พีโชทก : นป. น้ำบนใบหญ้าหรือใบไม้; ฝนลูกเห็บ
มนฺธาตุ : (ปุ.) มันธาตุ ชื่อของพระราชา, พระราชาพระนามว่ามันธาตุ, พระเจ้ามันธาตุราช ชื่อของพระราชาผู้ยิ่งใหญ่พระองค์หนึ่งสามารถบันดานให้ฝนตกเป็น กหาปณะ มํ+ธาตุ (ผู้ทรงไว้ซึ่งสิริ).