ปกฺข : ป. ข้าง, ส่วน, ฝ่าย, สีข้าง, ปีก, ปักษ์, คนขาเขยก, พรรค
ภิกฺขุนี : (อิต.) ภิกษุณี พระผู้หญิง ของพระพุทธ ศาสนา เป็นบริษัทที่ ๒ ในบริษัท ๔. ภิกฺขุ+อินี อิต. เป็นพระที่บวชจากสงฆ์ ๒ ฝ่าย คือจากภิกษุณีสงฆ์ และภิกษุสงฆ์รักษาสิกขาบท (ศีล) ๓๑๑ สิกขาบท.
กณฺหปกฺข : (ปุ.) ฝ่ายดำ, ฝ่ายผิด.
กติกา : (อิต.) การทำ, กฤษฎีกา. กติศัพท์ ก สกัด อา อิต. กติกา ไทยใช้ในความหมายว่า การนัดหมาย ข้อตกลง ข้อ บังคับ เงื่อนไขที่กำหนดไว้ สัญญาบัง เกิดแต่การทำ. กฤษฏีกา (แผลงมาจาก กติกา) ใช้เป็นชื่อของกฎหมาย ซึ่งฝ่าย บริหารบัญญัติออกใช้เมื่อคราวจำเป็นใน นามของพระมหากษัตริย์ เรียกว่าพระราช กฤษฎีกา.
กมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรม, ทางเกิดของ กรรม, คลองแห่งกรรม, กรรมอันเป็น คลอง, กรรมบถ ชื่อธรรมหมวดหนึ่งมี ๑๐ ข้อ มีทั้งฝ่ายกุศลและอกุศล.
กมฺมภว : (ปุ.) กรรมภพ ที่เกิดของกรรมทั้ง ฝ่ายกุศลและอกุศลที่เกิดของสัตว์ผู้มีกรรม ทั้งที่เป็นอกุศลจิต และโลกิยกุศลจิต. ปุญฺ ญา ภิสงฺขาโร อปุญญาภิสงฺขาโร อเนญชา ภิสงฺขาโร อยํ กมฺมภโว. ขุ. จู ไตร. ๓๐/๒๘๕.
กามาวจรกิริยา : อิต. จิตที่เป็นกิริยาฝ่ายกามาวจร
กาฬปกฺข : (ปุ.) ข้างดำ, ฝ่ายดำ, ข้างแรม (ส่วนของเดือนทางจันทรคติ ตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ ถึงสิ้นเดือน), กาฬปักข์, กาฬปักษ์. กาฬผลก
กุสลธมฺม : ป. กุศลธรรม, ธรรมที่เป็นกุศล, ธรรมฝ่ายดี
กุสลปกฺข : ป. ธรรมฝ่ายกุศล
กุสลปกฺขิก : ค. อันเป็นฝักฝ่ายแห่งกุศล
โกธาภิถู : (วิ.) ผู้ครอบงำความโกรธ. เป็นฝ่ายดี. ผู้อันความโกรธครอบงำ. เป็นฝ่ายชั่ว.
ครุกมฺม ครุกกมฺม : (นปุ.) กรรมหนัก. กรรม หนักฝ่ายกุศลได้สมาบัติ ๘ ฝ่ายอกุศล ได้แก่ อนันตริยกรรม ๕. วิ. กมฺมนตเรหิ ปฏิพาหิตํ อสกฺกุเณยฺยตฺตา ครํ ครุกํ วา กมฺมนฺติ ครุกมฺมํ ครุกกมฺมํ วา.
คิหิปริสา : อิต. คิหิบริษัท, บริษัทฝ่ายคฤหัสถ์, พวกคฤหัสถ์
จารปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้เที่ยวไป, บุรุษผู้สอดแนม, แนวที่ห้า, จารบุรุษ (ผู้หาข่าวฝ่ายข้าศึกมา ให้ฝ่ายตน).
ชุณฺหปกฺข : (ปุ.) ฝ่ายสว่าง, ฝ่ายขาว, ปักษ์ สว่าง, ปักษ์ขาว, ข้างขึ้น.
ตณฺหาปกฺข : ป. พวกหรือฝ่ายแห่งตัณหา
ตทงฺคนิพพาน : (นปุ.) ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมีปฐมฌานเป็นต้น อัฏฐกถาให้ วิ. ว่า ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน นิพพานํ ตทงฺคนิพพานํ. ตทงฺคนิพพาน ศัพท์นี้มีในไตร. ๒๓ ข้อที่ ๕0 สูตรที่ ๙ แห่งปญจาลวรรค. ไม่ควรแปลว่า นิพพาน ชั่วขณะ ดังที่อาจารย์บางท่านแปล ควร แปลว่า ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌาน มี ปฐมฌาน เป็นต้น ตามที่อัฏฐกถาจารย์ ตั้ง วิ. ไว้ เพราะว่า “นิพพาน” นับเป็น ๑ ในโลกุตตรธรรม ๙ ไตร. ๓๑ ข้อ ๖๒0 และชาวพุทธฝ่ายเถรวาท ใช้คำ นิพพาน เป็นชื่อของจิตที่ดับกิเลสเป็นสมุจเฉทป – หานด้วยอริยมรรคที่ ๔ เป็นอกุปปา – วิมุตติอย่างเดียว เพราะฉะนั้น นิพพาน ชั่วขณะจึงไม่มี ขอฝากนักปราชญ์รุ่นหลัง ผู้หวงแหนพระพุทธศาสนาด้วย.
ติณวตฺถารก : (ปุ.) ติณวัตถาระกะ ชื่อวิธีระงับ อธิกรณ์อย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง คือการประนีประนอมกันทั้งสองฝ่าย ไม่ต้องชำระความเดิม.
เถรวาท : (ปุ.) เถรวาทชื่อนิกายของพระพุทธ- ศาสนาฝ่ายใต้ซึ่งถือพระธรรมวินัยตามมติ ของพระเถรพุทธสาวกที่ได้ทำสังคายนาไว้ คือไม่ยอมเปลี่ยนหรือถอนพระวินัย แม้ แต่ข้อเล็กน้อย.
ทกฺขิณชนปท : ป. ชนบทฝ่ายใต้, แว่นแคว้นทางใต้
ทกฺขิณนิกาย :
(ปุ.) นิกายฝ่ายใต้, ทักษิณ นิกายชื่อนิกายสงฆ์ฝ่ายใต้ ( เอาแคว้นมคธ ของชมพูทวีป ( อินเดีย ) เป็นศูนย์กลาง การนับ ) คือนิกายหินยาน ( หีนยาน ) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เถรวาท. ดู เถรวาท ด้วย.
ทกฺขิณาปถ : (ปุ.) ประเทศฝ่ายทิศใต้, ทักษิณาบถ.
ทิฏฺฐิปกฺข : ป. ฝักฝ่ายแห่งทิฐิ
ทุภโต : อ. แต่ข้างทั้งสอง, จากทั้งสองฝ่าย, จากด้านทั้งสอง
ทูต : (ปุ.) บุคคลผู้อัน..ส่งไป, คนนำข่าว, ทูต (ผู้นำข่าวสารไปบอก ผู้นำข้อความไป แจ้งทั้งสองฝ่าย ผู้รับใช้ไปเจรจาแทน). วิ. โย เปสียเต โส ทูโด. ทุ คมเน, โต, ทีโฆ. ส. ทูต.
ธมฺมยุตฺต : (ปุ.) ธรรมยุต พระธรรมยุต (ผู้ประกอบด้วยความถูกต้อง) ชื่อพระสงฆ์ ฝ่ายเถรวาทนิกายหนึ่ง.
ธมฺมยุตฺติกนิกาย : (ปุ.) ธรรมยุติกนิกาย ชื่อ นิกายสงฆ์ไทยฝ่ายเถรวาท ซึ่งเริ่มขึ้นในรัชกาลที่๓ ตั้งเป็นนิกายชัดเจนในรัชกาลที่ ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์. เมื่อนิกายนี้เกิดขึ้น จึงเรียกคณะสงฆ์ไทยดั้งเดิมว่ามหานิกาย.
ธุรการ : (ปุ.) การทำซึ่งหน้าที่, การทำหน้าที่, ธุรการ ชื่อบุคคลผู้ทำงานฝ่ายปกครอง มีหน้าที่เป็นแม่บ้านของหน่วยงานนั้นๆ อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของการจัดกิจการ โดยส่วนรวมของแต่ละหน่วย ซึ่งมิใช่งานฝ่ายวิชาการ.
นาวิกโยธิน : (ปุ.) นาวิกโยธิน ชื่อทหารเรือ ที่ประจำการเป็นพลรบฝ่ายบก คือเป็น ทหารเรือแต่อยู่บนบกและฝึกการรบแบบ ทหารราบ. นาวิกโยธ+อิน ปัจ.
ปกฺขิก : ค. เป็นไปในฝ่าย, เป็นไปในปักษ์
ปฏิเกฬนา : อิต. การเล่นโต้กลับ, การเล่นฝ่ายตรงข้าม; การเย้ยหยันตอบ
ปฏิปกฺข : ป., ค. ปฏิปักษ์, ฝ่ายตรงข้าม, ศัตรู; ซึ่งเป็นปฏิปักษ์
ปฏิปกฺขิก : ค. ซึ่งเป็นไปในฝ่ายตรงข้าม; ซึ่งอยู่ในฝ่ายตรงข้าม, อันเป็นปฏิปักษ์
ปฏิโยธ : ป. นักรบฝ่ายศัตรู, ทหารฝ่ายตรงข้าม, การต่อสู้ของฝ่ายตรงข้าม
ปฏิราช : ป. พระราชาฝ่ายตรงข้าม, ราชาผู้เป็นศัตรู
ปฏิโลมปกฺข : ป. ฝ่ายที่ตรงกันข้าม, ฝ่ายค้าน, ส่วนตรงข้าม
ปติกุล : นป. ตระกูลแห่งผัว, วงศ์ตระกูลฝ่ายสามี
ปน : (อัพ. นิบาต) บางที, บางคราว, ก็, แต่, ก็ แต่ว่า, ฝ่ายว่า, ส่วน, ส่วนว่า, ถึงอย่างนั้น, ถึงกระนั้น, ถึงดังนั้น, อนึ่งโสด, ด้วยแท้, เหมือนอย่างว่า, สำหรับ, แล, เล่า.
ปร : อ. เบื้องหน้า, ถัดไป, ต่อจาก, พ้นไป, ในฝ่ายอื่น
ปรชน : ป. คนอื่น, คนแปลกหน้า, คนภายนอก, คนฝ่ายตรงข้าม, ข้าศึก, ปีศาจ
ปรปกฺข : (ปุ.) ชนผู้เป็นฝักฝ่ายอื่น, ข้าศึก, ศัตรู, ปรปักษ์. ส. ปรปกฺษ.
ปรวาท : ป. คำกล่าวของผู้อื่น, คำเล่าลือของผู้อื่น; วาทะฝ่ายตรงข้าม, คำโต้แย้ง
ปรเสนา : อิต. ทหารฝ่ายอื่น, กองทัพข้าศึก
ปิติปกฺข : ป. ฝ่ายพ่อ, ข้างพ่อ
ปุพฺพการี : (ปุ.) บุคคลผู้ทำก่อนโดยปกติ,ฯลฯ, บุคคลผู้ทำอุปการะก่อน, บุพพการี บุคคล. ในกฏหมาย คำบุพการี หมายถึง บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย ทวด (ทั้งสองฝ่าย). ในทางพุทธศาสนาหมาย ความกว้างกว่านี้ มีอธิบายในบุคคลหาได้ยาก ๒.
พุทฺธจกฺก : (นปุ.)อาณาจักรของพุทธะ, เขตแดนของพุทธะ, เขตแดนของพระพุทธเจ้า, เขตแดนของพระพุทธ ศาสนา, พุทธจักร คือ ขอบเขตการปกครองในพระพุทธศาสนา วงการของพระพุทธศาสนา ฝ่ายพระพุทธศาสนา.
โพธิปกฺขิก, โพธิปกฺขิย : ค. (ธรรม) ซึ่งเป็นฝักฝ่ายแห่งการตรัสรู้, ซึ่งเป็นแนวทางแห่งการตรัสรู้
โพธิปกฺขิย : (วิ.) มีในฝ่ายแห่งความตรัสรู้, เป็นในฝ่ายแห่งความตรัสรู้, เป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้. วิ. โพธิยา ปกฺเขภโว โพธิปกฺจขิโย. อิย ปัจ. ชาตาทิตัท. โพธิยา ปกฺเข ปวตฺโต โพธิปกฺขิโย. โพธิสฺส วา ปกฺเข ภโว โพธิปกฺขิโย. โพธิ ใน วิ. นี้เป็น ปุ.
โพธิปกฺขิยธมฺม : (ปุ.) ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้, ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้, ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งธรรมสามัคคีเครื่องตรัสรู้, ธรรมเป็นไปในฝ่ายแห่งการตรัสรู้, ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งการบรรลุ (โลกุตตรธรรม).