พกาภิธาน : ค. อันมีชื่อว่า พกาพรหม
พการ : ป. ตัวอักษร พ
ปุพฺพกาย : (ปุ.) เบื้องต้นแห่งกาย, เบื้องต้นของกาย. วิ. กายสฺส ปุพพํ ปุริโม ภาโค ปุพฺพกาโย. เป็นตัปปุริสพิเศษ เมื่อเป็นบทปลง กลับบทหน้าไว้หลัง.
ปุพฺพการี : (ปุ.) บุคคลผู้ทำก่อนโดยปกติ,ฯลฯ, บุคคลผู้ทำอุปการะก่อน, บุพพการี บุคคล. ในกฏหมาย คำบุพการี หมายถึง บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย ทวด (ทั้งสองฝ่าย). ในทางพุทธศาสนาหมาย ความกว้างกว่านี้ มีอธิบายในบุคคลหาได้ยาก ๒.
สพฺพกามทท : (วิ.) ผู้ให้ซึ่งความใคร่ทั้งปวง, ผู้ให้ซึ่งสิ่งที่ใคร่ทั้งปวง. วิ. สพฺพกามํ ทโท สพฺพกามทโท.
กพฺพการ, กพฺพการก : ป. นักกาพย์, นักกลอน, กวี
ทิพฺพกาม : ป. สิ่งที่น่าปรารถนาอันเป็นทิพย์, ความสุขอย่างสวรรค์
พก : (ปุ.) นกยาง, นกยางโทน ชื่อนกยางชนิดหนึ่ง. วิ. วกติ โคจรํ อาททาตีติ พโก. วกฺ อาทาเน, อ, วสฺส โพ. เวสฯ เป็น พกฺอาทาเน.
อมฺพกา : อิต. แม่, ภรรยาที่ดี, ผู้หญิง
สมฺภตฺต : (ปุ.) เพื่อนคบกันมั่นคง. วิ. สพฺพกาลํ ภชตีติ สมฺภตฺโต. ภชฺ เสวายํ โต. อถวา, สกาโร พนฺธเว, โส วิย พนฺธโว วิย อญฺญมญฺญํ วิสาสวเสน ภชตีติ สมฺภตฺโต.
อชญฺญ : (นปุ.) อันตราย, จัญไร. วิ. สพฺพกาลํน ชายตีติ อชญฺญ. นปุพฺโพ, ญาอวโพธเน, โณฺย. แปลง ญา เป็นชา ยเป็นญฺญรัสสะอา เป็น อ.
อพพ : (นปุ.) อพพะชื่อมาตรานับเท่ากับแสนคูณด้วยร้อย.อวฺรกฺขเณ, โว, พการาเทโส, พฺสํโยโค.สตฺตสตฺตติพินฺทุสหิตาเอกา เลขาอพพํ.
พกสกุณิกา : (อิต.) นกยางตัวเมีย, นางนกยาง.
ปุพฺพกรณ : (นปุ.) การกระทำก่อน, บุพพกรณ์ บุพกรณ์ คือ กิจที่จะต้องทำก่อนบุพกิจ.
องฺกา : (อิต.) ตัก, พก, เอว, บั้นเอว, สะเอว, ข้าง, สีข้าง.
อุจฺจงฺก : (ปุ.) ตัก, พก, เอว, สะเอว.
อุจจงฺค : (ปุ.) ตัก, พก, เอว, ส่วนต่าง ๆ ของ ร่างกาย (ส่วนใดส่วนหนึ่งก็ได้ สรีระก็ได้). อุจฺจงฺคสทฺโท องฺคสามญฺญวาจโก สรีร- วาจโก วา. วิ. อุสฺสชฺชติ เอตฺถาติ อุจฺจงคํ. อุปุพฺโพ, สชฺ สงฺเค, อ, สสฺส จาเทโส, ทฺวิตฺตํ, ชสฺส โค, นิคฺคหิตาคโม. ฏีกาอภิฯ.
อุจฺฉงฺค : (ปุ.) ตัก, พก, เอว, สะเอว, ชายพก, รั้งผ้า. วิ. อุสฺสชติ เอตฺถาติ อุจฺฉงฺโค. อุปุพฺโพ, สญฺช สงฺเค, อ, สสฺส โฉ, ทฺวิตตํ (แปลง ฉ เป็น จฺฉ) และ แปลง ช เป็น ค ญฺ เป็นนิคคหิตแล้ว แปลงเป็น งฺ.
กทมฺพก : (นปุ.) หมวด, ฯลฯ. วิ. กทํ อวยวํ อาททาตีติ กทมฺพกํ. กทปุพฺโพ. วกฺ อาทาเน, อ, วสฺส โพ.
กมฺพก : ป. ผักบุ้ง, ผักทอดยอด
กลมฺพก : (ปุ.) ผักทอดยอด (ผักบุ้ง) วิ. เก อุทเก ลมฺพตีติ กลมฺพโก (เลื้อยอยู่ในน้ำ). กปุพฺโพ, ลมฺพฺ อวสํสเน, ณฺวุ. เป็น กลมฺ- พุก บ้าง.
กลิมฺพก กฬิมพก : (นปุ.?) หมาย. กลียุค
กฬิมฺพก : นป. เครื่องหมายที่ให้รู้ระยะน้อยใหญ่ยาวสั้นของผ้ากฐิน
กุตุมฺพก : ป. ดอกกุตุมพกะ (ชื่อดอกไม้ชนิดหนึ่งในอินเดีย)
เกปุก, - พุก : นป. น้ำ
คุมฺพก : (ปุ.) แปลเหมือน คุมฺพ.
จมฺมปสิพฺพก : (ปุ. นปุ.) กระทอ, กระทอ หนัง, ถุงหนัง. วิ. จมฺมมยํ ปสิพฺพกํ จมฺมปสิพฺพกํ.
จุมฺพก : (ปุ.) หินถ่วง, แม่เหล็ก. จิพุ โอลมฺพเน, ณฺวุ, นิคฺคหิตาคโม.
ตมฺพก : (ปุ.) ผักทอดยอด (ผักบุ้ง). ตมฺ กํขายํ, ณฺวุ. ลง พ อักษรท้ายธาตุ รูปฯ ๕๙๘.
ตมฺพกมูล : นป. มันแดง, เผือก
ตมฺพูลปสิพฺพก : ป. ขันหมาก, พานหมาก, ถุงหมาก
ตวการณ : (นปุ.) เหตุแห่งท่าน.
ตุมฺพ ตุมฺพก : (ปุ.) น้ำเต้า, น้ำเต้ายาว. ส. ตุมฺพ น้ำเต้างวงช้าง, บวบ.
ถมฺพกริ : ป. ข้าว, ต้นข้าว
ทิฏฺฐปุพฺพ ทิฏฺฐปุพฺพก : (วิ.) อัน...เห็นใน กาลก่อน, อัน...เคยเห็นแล้ว, เห็นแล้ว ในกาลก่อน, เคยเห็นกันแล้ว, เคยพบ กันแล้ว.
ปสิพฺพก : ป. กระสอบ, กะทอ, ถุง, ย่าม, กระเป๋าถือ
ปุพฺพก : (วิ.) เป็นของเก่า, ฯลฯ.
พิมฺพก : นป. มะกล่ำหลวง, ตำลึง
ลชฺชิตพฺพก : ค. ควรละอาย, น่าอาย
ลมฺพก : นป. ของที่ห้อยหรือแขวน
วณิพฺพก : ป. วณิพก, คนขอทานโดยร้องเพลง
สิพฺพก : (ปุ.) ช่างเย็บ. สิวฺ ตนฺตุสนฺตาเน, ณฺวุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง วฺย เป็น พฺพฺ.
อนฺวกาสิ : ก. ลาก, ดึง, ฉุด
อมฺพก : ๑. ป. มะม่วงเล็ก ;
๒. ค. ด้อย, โง่, มีปัญญาทราม
โอลมฺพก :
๑. นป. เครื่องยึดตัว, ไม้เท้า;
๒. ค. ดู โอลมฺพ
กจฺฉพนฺธน : (นปุ.) ายกระเบน, หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน.
กลมฺพ : นป. กลมฺพก ป. ผักบุ้ง, ผักทอดยอด