คุมฺพ : (ปุ.) กอ, กอไม้, พง, พุ่ม, พุ่มไม้, ซุ้ม ไม้, สุมทุม (ซุ้มไม้ที่ปกคลุมด้วยต้นไม้ และเถาวัลย์) หมู่, พวก, ฝูง, ประชุม, กอง, คณะ, กลุ่มก้อน, กองทหาร, ขบวนทัพ, เสา. คุปฺ รกฺขเณ, โพ, ปสฺส โม. คุมฺพฺ คุมฺพเน วา, อ.
ปุพฺพงจริต : นป. ความประพฤติอันมีมาก่อน, เรื่องราวที่ล่วงมาแล้ว
อฏวี : (อิต.) ป่า, หมู่ป่า, ป่าใหญ่, ดง, พง.อฎฺ คมเน, อโว, อิตฺถิยํ อี. อถวา, อาสทฺโทอุทฺธิคมนตฺเถ, ฏุ วิรูหเน, โณ, อิตฺถิยํอี.ส. อฎวี.
ฌายติ : ก. เพ่ง, ตรึก; เผา, ไหม้
นุตฺต : กิต. ซัด, พุ่ง, ยิง
ปชฺฌายติ : ก. เพ่ง, ตรึกตรอง
เปกฺข : (วิ.) ดู, เห็น, ปรากฏ, เพ่ง, มุ่ง, จดจ่อ. ป+อิกฺขฺ+ณ ปัจ.
อตฺต : (วิ.) ซัด, พุ่ง, ยิ่ง. อสุ เขปเน, โต.
อนุสญฺเจเตติ : ก. เพ่ง, ตรึก, พิจารณา
อปชฺฌายติ : ก. เพ่ง, พิจารณา
อปโลกี : ค. มองดู, เพ่ง, ระวัง, เตือน
อภิชฺฌาติ : ก. อยาก, โลภ, เพ่ง
อิกฺขติ : ก. เห็น, ดู, เพ่ง
มณฺฑล : (นปุ.) ดวง (สิ่งที่มีลักษณะเป็นรูปกลมๆ), ดวงกลม, วง, วงกลม, กลมรอบ, วงรอบ, รูปดวงจันทร์. วิ. มณฺฑยเตติ มณฺฑลํ. มณฺฑฺ ภูสเน, อโล. มณฺฑํ ลาติ คจฺฉตีติ มณฺฑลํ. มณฺฑปุพฺโพ, ลา คติยํ, อ.
กวาฏ : (ปุ.) วงรับลม, บาน ประตู. ส. กวฏี กวาฏ.
กวาฏก : (นปุ.) วงรับลม, บาน ประตู. ส. กวฏี กวาฏ.
กสตาล กสตาฬ : (นปุ.) กังสดาล กังสดาฬ ชื่อโลหะหรือสัมฤทธิ์ ที่ทำไว้สำหรับตี มี ฆ้องเป็นต้น, ระฆังวงเดือน. กํสปุพฺโพ, ตฬฺ ตาฬเน, โณ.
กาลจฺจย : (ปุ.) สมัยอันเป็นไปล่วงแห่งกาล, ความเป็นไปล่วงแห่งกาล, กาลอันเป็น ไปล่วง.
โคปขุม : ค. มีดวงตาเหมือนดวงตาลูกโค
ฆณ ฆน : (นปุ.) ฆณะ ฆนะ ชื่อองค์ที่ ๔ ใน ๕ องค์ของดุริยางค์, สัมมดาฬ เป็นต้น ชื่อ ฆณะ ฆนะ. หนฺ หึสายํ. อ, หสฺส โฆ. อภิ ฯ ลง ณ ปัจ. ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ. สัมมดาฬ คือ ดาฬที่ทำด้วยไม้ สมฺมตาฬํ นาม กฏฺฐมยตาฬํ. กังสดาล ( ระฆังวง- เดือน ) คือ ดาฬที่ทำด้วยโลหะ กํสตาฬํ นาม โลหมยํ. สิลาตาฬะ คือดาฬที่ทำด้วย สิลาและแผ่นเหล็ก สิลาย จ อโยปฏฺเฏน จ วาทนตาฬํ สิลาตาฬํ. ฏีกาอภิฯ
จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
จกฺกงฺกีต : ค. มีเครื่องหมายรูปวงจักร
จกฺกฉินฺน : ค. มีจักรอันขาดแล้ว; มีวงล้อหักเสียหายแล้ว
จกฺกลิ, - ลี : อิต. ผ้า, แผ่นผ้า, แผ่นผ้าที่ทำให้มีรูปเหมือนวงล้อเพื่อทำเป็นผ้าเช็ดเท้า
จกฺกวฏฏก : นป. วงล้อชักรอก, (สำหรับชักรอบบ่อน้ำ), ระหัดถีบ
จตุมาสจฺจย : (วิ.) อันเป็นไปล่วงแห่งเดือนสี่, อันเป็นไปล่วงสิ้นเดือน ท. สี่, สิ้นเวลา สี่เดือน.
จนฺทมณฺฑล : นป. จันทมณฑล, มณฑลแห่งพระจันทร์, วงรัศมีแห่งพระจันทร์, วงเดือน
ชวติ : ก. วิ่ง, แล่น, รีบเร่ง, รีบร้อน
ชานุมณฺฑล : นป. บริเวณแห่งเข่า, วงรอบเข่า, แค่เข่า, เข่า
เตมาสจตุมาสจฺจย : (วิ.) เป็นที่ไปล่วงแห่ง หมวดแห่งเดือนสามและหมวดแห่งเดือนสี่, สิ้นไปสามสี่เดือน.
ทารุมณฺฑลิก : นป. วงเวียนซึ่งทำด้วยไม้, วงกลมไม้
ธมฺมจกฺขุ : (วิ.) ผู้มีดวงตาเห็นธรรม.
ธาวติ : ก. วิ่ง, วิ่งหนี, วิ่งเร็ว; ล้าง, ชำระ
นนฺทิมุขี : ค. มีดวงหน้าส่องถึงความยินดีปรีดา, มีหน้าแสดงความร่าเริงแจ่มใส
นิกฺกุชฺชติ : ก. คว่ำ, งอเข้า, โค้งเป็นวง
นิกฺกุชฺเชติ : ก. คว่ำ, งอเข้า, โค้งเป็นวง
นิกุชฺชติ : ก. คว่ำ, งอเข้า, โค้งเป็นวง
ปริกฺเขป : (ปุ.) การวง, เครื่องล้อม, ปริปุพฺโพ, ขิปิ คติยํ, อ, ยุ.
ปริกฺเขปน : (นปุ.) การวง, เครื่องล้อม, ปริปุพฺโพ, ขิปิ คติยํ, อ, ยุ.
ปริภณฺฑ : ป. ของใช้, สายรัด, เครื่องเรือน, วงขอบ
ปริมณฺฑล : นป. วงกลม, วงรอบ; ความเรียบร้อย
ปริหารปถ : ป. ถนนวงเวียน, ถนนวงกลม
ปาทฉิทฺท : นป. ช่วงวงเท้า, ก้าว
มณฺฑลกรณี : (อิต.) วงเวียน.
มิทฺธ : (นปุ.) ความท้อแท้, ความเฉื่อยชา, ความเชื่อมซึม, ความหาวนอน, ความง่วง, ความง่วงงุน, ความว่วงโงก. สภาวะคร้านกาย ชื่อว่า มิทธะ. มิทฺ การิยกฺขมเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ. มิหฺ สติวิหนเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ หฺ หรือ มิหฺ อสามตฺถิเย.
วิตฺถาเรติ : ก. กว้างขาวง, ชี้แจง, ขยาย
วิธาวติ : ก. วิ่ง
องฺค : (ปุ.) อังคะ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ ใช้เป็นพหุ. เสมอ เมืองหลวงชื่อจัมปา, คม (คมดาบ). อคิ คมเน, อ.
อจฺจนฺตทุสฺสีลฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีศีลชั่วเป็นไปล่วงซึ่งส่วนสุด, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีศีลอันโทษประทุษร้ายแล้วโดยแท้, ความเป็นผู้ทุศีลล่วงส่วน.
อจฺจนฺติก : (ปุ.) เป็นไปโดยส่วนเดียว, เป็นไปล่วงส่วน.