พฺยาปาท : (ปุ.) ความจำนงภัย, ความขึ้งเครียด, ความป้องร้าย, ความผูกใจเจ็บและอยากแก้แค้น, ความพยาบาท. วิ. วฺยาปชฺชติ วินสฺสติ จิตฺต เมเตนาติ วฺยาปาโท พฺยาปาโท วา. วิ อาปุพฺโพ, ปทฺ คติมฺหิ, อ. เจตสิกธรรมอันยังประโยชน์เกื้อกูลและความสุขให้ฉิบหาย.
วฺยาปาท : ป. ความเจ็บใจ, ความพยาบาท, ความคิดร้าย
อาฆาฏอาฆาต : (วิ.) โกรธขึ้ง, ขึ้งเคียด, จำนงภัย, ปองร้าย, จองเวร, เบียดเบียน, พยาบาท
กามพฺยาปาทวิหึสาวิตกฺกวสิกตา : (อิต.) ความเป็นแห่ง...เป็นผู้เป็นไปในอำนาจแห่งกาม วิตก และพยาบาทวิตก และวิหิงสาวิตก, ความที่แห่ง...เป็นผู้เป็นไปในอำนาจ....
พฺยาปชฺฌ : (นปุ.) ความเบียดเบียน ความพยาบาท. วิ อา ปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, โณฺยฺ แปลง อิ เป็น ย ทฺย เป็น ชฺฌ. เป็น พฺยาปชฺฌา พฺยาปชฺชา บ้าง.
พฺยาปนฺนจิตฺต : (นปุ.) จิตมีความพยาบาท.
พฺยาปาทกวิตกฺก : ป. พยาบาทวิตก, การตรึกถึงความพยาบาท
อนูปนาหี : ค.ไม่ผูกโกรธ, ไม่พยาบาท
อพฺยาปาท : (นปุ.) ความไม่ปองร้าย, ความไม่พยาบาท.
อวฺยาปนฺน : ค. ปราศจากความพยาบาท, ไม่มีความมุ่งร้าย
อวฺยาปาท : ป. ความไม่พยาบาท, ความไม่ปองร้ายผู้อื่น
อุปทุสฺสติ : ก. ผูกพยาบาท, ประทุษร้าย
อุปนยฺหติ : ก. เข้าผูก, ผูกมั่น, เข้าไปผูกไว้, ผูกพยาบาท
อุปนยฺหนา : อิต. การเข้าไปผูกความมุ่งร้าย, การผูกพยาบาท, การเข้าไปผูกมั่น
อุปนาหี : ค. ผู้จองร้าย, ผู้ผูกพยาบาท
โอยาจติ : ก. พยาบาท, ด่า, สาป