พฺรหมฺ : (ปุ.) พราหมณ์ วิ. พฺรหมฺโน อปจฺจํ พฺรหฺมา.
หิรญฺญคพฺภ : (ปุ.) หิรัญญคัพภะ ชื่อของพรหมชื่อ ๑ ใน ๘ ชื่อ, พรหม, พระพรหม. วิ หิรญฺญํ สุวณฺณมยํ อณฺฑํ, หิรญฺญ อสฺส คพฺโภ ภูโตติ หิรญฺญคพฺโภ. พราหมณ์ ก็แปล.
พฺรหฺม : (วิ.) เลิศ. ประเสริฐ, ประเสริฐสุด. พฺรหฺ วุทฺธิยํ, โม.
ก : (ปุ.) พรหม อุ. กโมฬิ, กาย อุ. กํ อตฺตานํ, ลม อุ. กํ วาตํ, ชาย (คน) อุ. กํ ปุริสํ, นกยูง อุ. โก มยูโร, ความรุ่งเรือง อุ. โก โชติ.
โลเกส : ป. พรหม
อุปปาติก : (วิ.) (สัตว์) ผู้ลอยมาเกิด, เกิดขึ้น, ผุดเกิด, เกิดผุดขึ้น, อุปปาติกะ, โอปปาติกะ (เกิดเอง โดยอาศัยอดีตกรรม ไม่มีบิดา มารดา ได้แก่ เทวดา พรหม สัตว์นรก เปรต อสุรกาย).
ก. : ๑. ป. พระพรหม ; ลม; ไฟ ; ใจ;
๒. นป. หัว, ผม; น้ำ;
๓. ส. ใคร? อะไร? สิ่งไหน?
กมลาสน : (ปุ.) กมลาสน์ ชื่อของพระพรหม, พระพรหม (มีดอกบัวเป็นที่นั่ง) วิ. กมลํ อาสนํ ยสฺส โส กมลาสโน.
กโมลิ กโมฬิ : (ปุ. อิต.) โมลีแห่งหมู่พรหม, โมฬีแห่งหมู่พรหม. วิ. เกสํ พฺรหฺมานํ โมลิ โมฬิ วา กโมลิ กโมฬิ วา. เป็น กโมลี บ้าง.
กรชกาย กรชฺชกาย : (ปุ.) กายอันเกิดแต่ธุลี ในน้ำ, กายอันเกิดแต่ความรักของพรหม คือมารดาและบิดา วิ. กรชา ชาโต กาโย กรชกาโย. กายอันเกิดจากกระคือน้ำ สัมภวะของมารดาและบิดา วิ. กรโช กาโย กรชกาโย. ศัพท์หลังซ้อน ชฺ. กรญฺช
ชยปาล : (ปุ.) พระพรหม, พระศิวะ.
ฌสางฺค : (ปุ.) ฌสางคะ ชื่อของพระอนิรุทธ์ ลูก ของพระพรหม.
เทวตา : (อิต.) เทวดา, เทพดา, เทพยดา, เทวัญ. คำ เทวตา นี้หมายเอาทั้ง เทพบุตร เทพธิดา และพรหม. เทโว เอว เทวตา. ตา ปัจ. สกัด. อภิฯ และรูปฯ ๓๖๕. ศัพท์ ที่แปลว่า เทวดา มี ๑๕ ศัพท์ และใช้เป็น พหุ. ทั้งสิ้น. ส. เทวตา.
ธม : (ปุ.) คนก่อไฟ, พระจันทร์, พระยม, พระกฤษณะ, พระพรหม. ธมฺ สทฺทคติ- สํโยเคสุ, อ. ส. ธม.
ธมฺมชาล : นป. ข่ายคือธรรม; ชื่อของพระสูตรหนึ่งคือธรรมชาลสูตร, พรหมชาลสูตรก็เรียก
นารท : (ปุ.) นารทะ พระนามของพระพุทธเจ้า องค์หนึ่ง ชื่อลูกพระพรหม ชื่อฤาษีตน หนึ่งผู้ชำนาญการพยากรณ์และผู้เป็นต้น ประดิษฐ์ดนตรี ชื่ออำมาตย์. ส. นารท.
นารายณ : (ปุ.) นารายณะ นามพระวิษณุ, พระนารายณ์ พระเจ้าองค์หนึ่งใน ๓ องค์ ของศาสนาฮินดู ได้ในอักษร อะ อีกสอง องค์คือ พระศิวะ อักษร อุ และ พระพรหม อักษร มะ รวมเป็น โอม. ส. นารายณ.
ปชาปติ : ป. เจ้าแห่งหมู่สัตว์, พระพรหม
ปริตฺตสุภ : (ปุ.) เทพชาวปริตตสุภะ, ปริตตสุภะ ชื่อพรหมโลกชั้นที่ ๗ มีความงามน้อย.
ปริตฺตาภ : (ปุ.) พรหมปริตตาภะ วิ. ปริตฺตา อาภา เอเตสนฺติ ปริตฺตาภา. เทวดาชั้น ปริตตาภะ, ปริตตาภะ ชื่อพรหมโลกชั้นที่ ๔ ใน ๑๖ ชั้น.
ปริตฺตาภา : (อิต.) ภูมิเป็นที่เกิดของพรหม- ปริตตาภะ, ภูมิเป็นที่อยู่ของพรหม- ปริตตาภะ.
ปิตามห : ป. พรหม, ปู่, ตา, บรรพบุรุษ
พกาภิธาน : ค. อันมีชื่อว่า พกาพรหม
พฺรหฺมกปฺป : ค. เหมือนพรหม, คล้ายพรหม
พฺรหฺมกาย : (ปุ.) พรหมกายเป็น พระนามของพระพุทธเจ้า (มีพระวรกายประเสริฐสุด).
พฺรหฺมกายิก : ค. ผู้นับเนื่องในพรหม, หมู่พรหม
พฺรหฺมกุตฺต : นป. การงานของพรหม, การกระทำแห่งพรหม
พฺรหฺมจริย : (นปุ.) ความประพฤติซึ่งธรรมอันประเสริฐ, ความประพฤติประเสริฐ, ความประพฤติเพียงดังพรหม, ความประพฤติเหมือนพรหม, ความหนักแน่น, ความตั้ง ใจมั่น, ทาน, อัปปมัญญา, สาสนะ, พรหมจรรย์ (การถือบวช การถือพรตเว้นเมถุนธรรม). ความสิ้นราคะ โทสะและโมหะ เป็นที่สุดของพรหมจรรย์ ไตร. ๑๙/๓๐/๙.
พฺรหฺมจาริณี พรหฺมจารี : (อิต.) หญิงผู้ประพฤติประเสริฐ, หญิงผู้ประพฤติเหมือนพรหม, หญิงพรหมจารี. พรหมจาริณี พรหมจารี ไทยใช้หมายถึงหญิงที่ยังบริสุทธิ์เรื่องเพศ.
พฺรหฺมจารี : (วิ.) ผู้ประพฤติซึ่งธรรมอันประเสริฐ. วิ. พฺรหฺมํ จรตีติ พฺรหฺมจารี. ณี ปัจ. ผู้ประพฤติพรหมจรรย์ วิ. พฺรหฺมจริยํ จรตีติ พฺรหฺมจารี. ผู้ประพฤติพรหมจรรย์โดยปกติ, ฯลฯ. คำแปลและ วิ. อีก ดู ธมฺมจารี เทียบ.
พฺรหฺมจินฺติต : ค. อันพรหมคิดแล้ว
พฺรหฺมชาติ : (อิต.) พรหมชาติ ชื่อตำราหมอดูอย่างหนึ่ง มีกฏเกณฑ์การทำนายโดยเลข ๗ ตัว เป็นหลักใหญ่ ยังไม่ถึงขั้นโหราศาสตร์.
พฺรหฺมญฺญ : (วิ.) เกื้อกูลแก่พรหม วิ. พฺรหฺมสฺสหิตํ พฺรหมญฺญ. ณฺย ปัจ. แปลงเป็น ญฺญ.
พฺรหฺมญฺญตา : (อิต.) ความปฏิบัติเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่พรหม, ความประพฤติเกื้อกูลแก่พรหม. ตา ปัจ. สกัด.
พฺรหฺมตฺตภาว : ป. อัตภาพแห่งพรหม
พฺรหฺมทณฺฑ : (ปุ.) ไม้แห่งพระพรหม, อาชญาของพระพรหม, อาชญาอันประเสริฐ, พรหมทัณฑ์ ชื่อ การลงโทษอย่างสูงอย่างหนึ่งของพุทธศาสนา คือห้ามไม่ว่ากล่าวภิกษุหัวดื้อว่ายากสอนยากห้ามไม่ ให้ใครพูดด้วย. ปัจจุบันนี้ยังใช้ได้ผลหรือไม่?
พฺรหฺมทตฺต : (ปุ.) พรหมทัต ชื่อพระเจ้าแผ่นดิน.
พฺรหฺมทตฺติย : (วิ.) อันพรหมใช้แล้ว วิ. พฺรหฺมุนา ทินฺโน พฺรหฺมทตฺติโย. ทินฺนสทฺท- สฺส ทตฺติยภาโว.
พฺรหฺมทายาท : ป. ทายาทแห่งพรหม, ผู้รับมรดกอันประเสริฐ
พฺรหฺมเทยฺย : นป. พรหมเทยย์, ของที่ได้รับพระราชทานจากพระราชา
พฺรหฺมเทฺยฺย : (นปุ.) รางวัลอันบุคคลผู้ประเสริฐพึงให้, รางวัลอันบุคคลผู้เพียงดังพรหมพึงให้, รางวัลอันประเสริฐ.
พฺรหฺมเทวตา : อิต. เทวดาในสวรรค์ชั้นพรหม
พฺรหฺมนิมนฺตนิก : ค. ผู้เชื้อเชิญพรหม
พฺรหฺมนิมฺมิต : ค. อันพรหมเนรมิตรแล้ว, อันพรหมสร้างแล้ว
พฺรหฺมปตฺต : ค. ถึงภาวะแห่งพรหม, ถึงความเป็นผู้ประเสริฐ
พฺรหฺมปรายน : ค. มีพรหมโลกเป็นที่ไปในเบื้องหน้า, มีเหตุอันจะต้องเข้าถึงความเป็นพรหม
พฺรหฺมปริสา : อิต. บริษัทแห่งพรหม, บริวารแห่งพรหม, การประชุมแห่งพวกพรหมในพรหมโลก
พฺรหฺมปาริสชฺช : (ปุ.) พรหมปาริสัช ชื่อ พรหมชั้นที่ ๑ ใน ๒๐ ชั้น.
พฺรหฺมปุโรหิต : (ปุ.) พรหมปุโรหิต ชื่อ รูปพรหมชั้นที่ ๒ ชื่อพรหมผู้เป็นปุโรหิตของมหาพรหม.
พฺรหฺมพนฺธุ : (ปุ.) ชนผู้เป็นพวกพ้องแห่งพรหม, พราหมณ์.