ปชาปติ : ป. เจ้าแห่งหมู่สัตว์, พระพรหม
สุรเชฏฺฐ : ค. ผู้เจริญที่สุดในเทวดา, พระพรหม
อติพฺรหฺมา : ป. ท้าวมหาพรหม, พระพรหม, ผู้เป็นใหญ่ยิ่ง
กมลาสน : (ปุ.) กมลาสน์ ชื่อของพระพรหม, พระพรหม (มีดอกบัวเป็นที่นั่ง) วิ. กมลํ อาสนํ ยสฺส โส กมลาสโน.
ก. : ๑. ป. พระพรหม ; ลม; ไฟ ; ใจ;
๒. นป. หัว, ผม; น้ำ;
๓. ส. ใคร? อะไร? สิ่งไหน?
นารายณ : (ปุ.) นารายณะ นามพระวิษณุ, พระนารายณ์ พระเจ้าองค์หนึ่งใน ๓ องค์ ของศาสนาฮินดู ได้ในอักษร อะ อีกสอง องค์คือ พระศิวะ อักษร อุ และ พระพรหม อักษร มะ รวมเป็น โอม. ส. นารายณ.
โองฺการ : (ปุ.) คำเปล่ง, โองการ (คำศักดิ์ สิทธิ์). อุจฺ สทฺเท, อาโร. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ นิคคหิตอาคม แปลง จฺ เป็น ก ทาง พราหมณ์ (ฮินดู) หมายเอกพระเจ้าทั้ง ๓ คือ พระพรหม พระวิษณุ และ พระศิวะ.
ธม : (ปุ.) คนก่อไฟ, พระจันทร์, พระยม, พระกฤษณะ, พระพรหม. ธมฺ สทฺทคติ- สํโยเคสุ, อ. ส. ธม.
สุรเชฎฺฐ : (ปุ.) สุรเชฏฐ์ ชื่อพระพรหมชื่อ ๑ ใน ๘ ชื่อ, พระพรหม. วิ. สุรานํ ณานาทิคุเณหิ เขฎโฐติ สุรเชฎโฐ.
หิรญฺญคพฺภ : (ปุ.) หิรัญญคัพภะ ชื่อของพรหมชื่อ ๑ ใน ๘ ชื่อ, พรหม, พระพรหม. วิ หิรญฺญํ สุวณฺณมยํ อณฺฑํ, หิรญฺญ อสฺส คพฺโภ ภูโตติ หิรญฺญคพฺโภ. พราหมณ์ ก็แปล.
ชยปาล : (ปุ.) พระพรหม, พระศิวะ.