ทสสตนยน : (ปุ.) เทพผู้มีนัยน์ตาร้อยสิบหน, เทวดาผู้มีนัยนืตาพันหนึ่ง, เทวดาผู้มี นัยน์ตาหนึ่งพัน, ท้าวสหัสนัยน์ ชื่อพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๑๐ ชื่อ, พระอินทร์, วิ. ทสสตานิ นยนานิ ยสฺส โส ทสสตนยโน.
เทวกุญฺชร : ค., ป. ผู้เป็นดุจกุญชรในหมู่เทพ, ผู้ประเสริฐในหมู่เทวดา; พระอินทร์
เทวราช : (ปุ.) เทวดาผู้พระราชา, พระเทวราช ชื่อของพระอินทร์, พระอินทร์, ท้าวสักกะ. วิ. เทวานํ ราชา เทวราชา.
วชิราวุธ : ค. มีวชิระเป็นอาวุธ, พระอินทร์
สกฺก : ป. ศากยวงศ์, พระอินทร์
โกสิย : (ปุ.) ท้าวโกลีย์ ชื่อของพระอินทร์ชื่อที่ ๑๖ ใน ๒0 ชื่อ, พระอินทร์. วิ. โกสสํขาตานิ ฐานานิ อสฺส อตฺถีติ โกสิโย. โกสิยโคตฺตตาย จ โกสิโย.
ติทิวาธิภู : (ปุ.) ติทิวาธิภู ชื่อพระอินทร์ ชื่อที่ ๑๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. ติทิวานํ ทฺวินฺนํ เทวโลกานํ อธิภู ติทิวาธิภู.
ทิสานาถ : (ปุ.) เทวดาผู้เป็นที่พึ่งในทิศ, พระอินทร์.
นนฺทา : (อิต.) นันทา ชื่อสระโบกขรณีของ พระอินทร์ วิ. นนฺทียตีติ นนฺทา. นนฺทฺ ธาตุ อ ปัจ. อาอิต.
ปากสสน : ป. พระอินทร์
ปุรินฺทท : (ปุ.) ปุรินททะ ชื่อขอพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. ปุเร ปุริมํ วา ททาตีติ ปุรินฺทโท. ปุเร ทานํ อททีติ วา ปุรินฺทโท. ปุรปุพฺโพ, ททฺ ทาเน, อ. แปลง อ ที่ ร เป็น อึ เป็น ปุรึ เอานิคคหิตเป็น นฺ
ภูตปติ : (ปุ.) ภูตปติ ชื่อของพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. ภูตานํ สติตานํ ปต ภูตปติ.
มฆา, มฆวนฺตุ : ค. พระอินทร์
มหินฺท : (ปุ.) มหินทะ ชื่อของพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. มหตํ เทวานํ อินฺโท ราชาติ มหินฺโท. มหนฺโต จ โส อินฺโท จาติ วา มหินฺโท.
วตฺตภู : ป. พระอินทร์
วาสว : ป. พระอินทร์
สหสฺสกฺข : (ปุ.) เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่ง, เทวดาผู้มีพระเนตรหนึ่งพัน, เทวดาผู้เห็นซึ่งนัยพันหนึ่ง, สหัสสักขะ ชื่อของพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. สหสฺสานิ อกฺขีนิ ยสฺส โส สหสฺสกฺโย. สหสฺสสฺส พหุนฺนํ เทวมนุสฺสานํ จินฺติตตฺถสฺส ทสฺสนสมตฺถตาย สหสฺสกฺโข. สหสฺสํ วา อตฺถํ มุหุตฺเตน จินฺเตสิ ตฺสฺมา สหสฺสกฺโขติ วุจฺจติ. แปลง อกฺขิ เป็น อกฺข.
สหสฺสเนตฺต : (ปุ.) เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่ง, เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่งเป็นประมาณ, เทวดาผู้มีพระเนตรหนึ่งพัน, ท้าวสหัสเนตร, ท้าวสหัสนัยน์, พระอินทร์. คำนี้ในหนังสือบางเล่ม เป็นท้าวหัสเนตร ท้าวหัสนัยน์ ตัด ส ตัวหน้าออก ความหมาย มิผิดหรือ? ส. สหสฺรากฺษ.
สุชมฺปติ : (ปุ.) เทวดาผู้เป็นพระสวามีของนางสุชา, ท้าวสุชัมบดี ชื่อพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. สุชาย อสุรกญฺญาย ปติ สุชมฺปติ. รัสสะ อา ที่ ชา ลงนิคคหิตอาคม แปลงเป็น มฺ.
สุรนาถ : (ปุ.) เทวดาผู้เป็นที่พึ่งของเทวดา, พระอินทร์. วิ. สุรานํ นาโถ สุรนาโถ.
กุลิส : (ปุ. นปุ.) กุลิสะ ชื่ออาวุธพระอินทร์, ขวานฟ้า, แก้ววิเชียร. วิ. กุลิมฺหิ สกฺกสฺส หตฺเถ เสติ ติฏฺฐตีติ กุลิสํ. กุลิปุพฺโพ, สิ คติยํ, อ. กลียตีติ วา กุลิสํ. กลฺ สํวรเณ, อิโส, อสฺสุ.
ขิขิ ขิงฺขิร : (ปุ.) หมาจิ้งจอก, อาวุธพระอินทร์, เครื่องหอม. ขิ คติยํ, ขิปจฺจโย ศัพท์หลัง ลง นิคคหิตอาคม และ ลง ร ปัจ. ?
จิตฺตลตา : (อิต.) จิตรลดา ชื่อสวนพระอินทร์, สวนจิตรลดา (หลากด้วยไม้เถาต่างๆหรือ เป็นที่รวบรวมแห่งไม้ทิพย์). วิ. นานาลตาหิ วลฺลีหิ จิตฺตตฺตา จิตฺตลตา. เทวานํ วา จิตฺตาสา เอตฺถ อตฺถีติ จิตฺตา. อาสาวตี นาม ลตา, สา ยตฺถ อตฺถิ สา จิตฺตลตา. จิตฺตํ ลนฺติ คณฺหนฺตีติ จิตฺตลา, ทิพฺพรุกฺขา ; เตสํ สมูโห จิตฺตลตา.
จิตฺตลตาวน : นป. สวนจิตรลดา, ชื่อสวนของพระอินทร์
ชมฺภาริ : (ปุ. อิต.) อาวุธพระอินทร์, ไฟ, แสง ไฟ (กำจัดความมืด). ชภิ นาสเน, ริ, นิคฺคหิตาคโม.
ตาวิส : (ปุ.) สวรรค์, ทะเล, ลูกสาวพระอินทร์, แผ่นดิน ?
ปณฺฑุกมฺพลสิลาสน : นป. แท่นศิลาที่มีสีเหมือนผ้ากัมพล, ชื่อแท่นที่ประทับนั่งของพระอินทร์
ปารุสก : นป. ชื่อสวนพระอินทร์
ผารุสก : (นปุ.) ผารุสกะ ชื่อสวนหรือป่าของท้าวสักกะ, สวนหรือป่าของพระอินทร์. วิ. ผารุสการนํ ยตฺถ สนฺติ ตํ ผารุสกํ. ณ ปัจ.
มฆวนฺตุ : (ปุ.) มฆวัน มฆวา มฆวาน ท้าวมฆวาน มฆวะ เป็นชื่อของพระอินทร์ทุกคำ วิ. มหิตพฺพตฺตา มฆวา. มหฺ ปูชายํ, วนฺตุ, หสฺส โฆ. เป็น มฆวนฺตุ ลง สิปฐมา วิภัติ เอา นฺตุ กับ สิ เป็น อา สำเร็จรูปเป็น มฆวา.
มสกฺกสาร : ป. เมืองพระอินทร์
มาตลี : (ปุ.) มาตลี ชื่อเทพบุตรผู้เป็นสารถีของรถพระอินทร์ วิ. มาตลาย อปจฺจํ มาตลี. ณี ปัจ. มา มาตา วิย สตฺตานํ หิตสุขํตลตีติ วา มาตลี. มาปุพฺโพ, ตลฺ ปติฏฺฐายํ, ณี.
มิสฺสก มิสฺสกวน : (นปุ.) มิสสกะ มิสสกวัน มิสกวัน ชื่อป่าหรือสวนของพระอินทร์ อุทยานของพระอินทร์ มีไม้ต่างๆ ระคนกัน.
วชิร : นป. อาวุธพระอินทร์, รัตนะ, เครื่องมือจาระไนแก้ว, เพชร
วชิรปาณิ, - หตฺถ : ป. พระอินทร์, ท้าวสักกะ
เวชยนฺต : ป. ชื่อวิมานหรือรถของพระอินทร์
สกฺกตฺต : นป. ความเป็นพระอินทร์, ความเป็นผู้สามารถ
สุชาตา : (อิต.) พระนางสุชาดา ชื่อพระชายาของพระอินทร์, นางสุชาดา ผู้ถวายข้าวมธุปายาสแด่พระมหาบุรุษในเช้าวันตรัสรู้. วิ. สุเขน ชาดา สุนฺทรา วา ชาติ ยสฺสา สา สุชาตา.
สุธมฺมา : (อิต.) สุธรรมา ชื่อสภาพพระอินทร์. วิ. โสภโน ธมฺโม อสฺสาติ สุธมฺมา.
สุนนฺทา : (อิต.) สุนันทา ชื่อสวน ชื่อสระ, พระนางสุนันทา ชื่อพระชายาของพระอินทร์.
สุรบุรี : (อิต.) เมืองพระอินทร์.
สุวีร : (ปุ.) สุวิระ ชื่อโอรสพระอินทร์, โอรสพระอินทร์. วิ. อติสเยน วิโรติ สุวีโร. อิตสเยน วา สูรตฺตา สุวีโร.
ห : (ปุ.) อาวุธ อุ. อินฺทห อาวุธของพระอินทร์.
อกฺกสารท : (ปุ.) ช้างพระอินทร์.
อชาตสตฺตุ : (ปุ.) พระเจ้าอชาตศัตรู พระนามพระเจ้าแผ่นดินมคธซึ่งเป็นพระราชโฮรสของพระเจ้าพิมพิสาร.ส. อชาตศตฺรุพระอินทร์พระศิวะ.
อมรวตีอมราวตี : (อิต.) อมรวดีอมราวดีชื่อเมืองของพระอินทร์เมือง ๑ ใน ๓ เมือง.วิ.อมราเอกทิวสํสนฺตีติอมรวตี.สาเอวอมราวตี.รสฺสสฺสทีฆตา (ทีฆะรัสสะเป็นอา).
อมรวตี อมราวตี : (อิต.) อมรวดี อมราวดี ชื่อ เมืองของพระอินทร์เมือง ๑ ใน ๓ เมือง. วิ. อมรา เอกทิวสํ สนฺตีติ อมรวตี. สา เอว อมราวตี. รสฺสสฺส ทีฆตา (ทีฆะรัสสะ เป็น อา).
อมราวตี : อิต. เมืองของพระอินทร์
อสนิ : อิต., ป. สายฟ้า ; อาวุธพระอินทร์
อาขณฺฑล : ป. ๑. ชื่อพระอินทร์ ;
๒. ผู้ตัด, ผู้ทำลาย