Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พร้อมเพรียง, เพรียง, พร้อม , then พรยง, พรอม, พร้อม, พรอมพรยง, พร้อมเพรียง, เพรียง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พร้อมเพรียง, 165 found, display 1-50
  1. กายสมงฺคี : ค. มีกายพร้อมเพรียงกัน, อันพรั่งพร้อมด้วยกาย
  2. การกสงฺฆ : (ปุ.) สงฆ์ผู้ทำ, สงฆ์ผู้ทำกิจทาง พระศาสนา, การกสงฆ์. สงฆ์มีจำนวน ต่าง ๆ กัน ประชุมพร้อมเพรียงกันทำ การต่าง ๆ มีสังคายนาเป็นต้น เรียกว่า การกสงฆ์.
  3. จิตฺตสโมธาน : นป. ความรวมลงพร้อมแห่งจิต, ความพร้อมเพรียงแห่งจิต, ความแน่วแน่แห่งจิต
  4. สมคฺคี : (ปุ.) ความพร้อมเพรียง, ฯลฯ. อิปัจ.
  5. สมคฺต : (ปุ.) ความพร้อมเพรียง, ฯลฯ, บุคคล ผู้พร้อมเพรียงกัน, ฯลฯ. สม+อา+คมฺ คติยํ, อ. ลบที่สุดธาตุ รัสสะ ซ้อน ค.
  6. สมงฺค : (ปุ.) ความพร้อมเพรียง, ฯลฯ, บุคคลผู้พร้อมเพรียง, ฯลฯ.
  7. สมงฺคิตา : อิต. ความเป็นผู้พร้อมเพรียงกัน
  8. สมงฺคี : (วิ.) ผู้มีความพร้อมเพรียงกัน, ฯลฯ. อีปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  9. สมย : (ปุ.) ขณะ, ครั้ง, ครา, คราว, หน, กาล, เวลา, ฤดู, โอกาส. วิ. สํ ปุนปฺปุนํ เอติ อยติ วาติ สมโย. สํปุพฺโพ, อิ อยฺ วา คติยํ, อ. การได้, การถึง, การเห็น, ความเห็น, ลัทธิ, มติ, ทิฏฐิ, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงแห่งเหตุ, การณะ, เหตุการประชุม, หมวด, หมู่, กอง, คณะ. วิ. สมนฺตโต อยนํ คติ สมโย. การแทงตลอด, ฯลฯ. วิ. สํสุฎชุ สมฺมา วา อวิปริตากาเรน อยิตพฺโพ ญาตพฺโพติ สมโย. การละ, การสละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง. ส. สมย.
  10. สามคฺคี : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้พร้อมเพรียงกัน, การรวมกำลัง, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงกัน, ความปรองดอง, ความปรองดองกัน, ความรวมกำลัง, ความกลมเกลียว, ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน. วิ. สมคฺคานํ ภาโว สามคฺคี. อิปัจ. ภาวตัท. รูปฯ ๓๗๒.
  11. สามจฺจ : ค. ซึ่งพร้อมเพรียงกัน, ซึ่งร่วมด้วยเพื่อน
  12. อุปสมฺปทา : (อิต.) การถึงพร้อมในธรรมเบื้อง บน (สูง). อุปริ+สมฺปทา ลบ ริ. การถึง พร้อม, การเข้าถึงพร้อม, การยังกุศลให้ถึง พร้อม. อุป+สํ+ปทา, การอุปสมบท (บวช เป็นภิกษุ). ส. อุปสมฺปทฺ.
  13. กมฺมชรูป กมฺมชฺชรูป : (นปุ.) รูปอันเกิดแต่ กรรม, กัมมชรูป กัมมัชชรูป คือรูปที่ กรรมสร้าง มองด้วยตาเนื้อไม่เห็น เกิด พร้อมกับปฏิสนธิจิต เพราะจิตยังอาศัยรูป นี้อยู่ และเกิดดับเป็นสันตติ จนถึงจุติจิต (มรณสันนวิถี). ส. กรฺมชรูป.
  14. กมฺมญฺญตา : อิต. กมฺมญฺญภาว ป. ความที่จิตเป็นสภาพควรแก่การงาน, ความพร้อม, ความคล่องแคล่ว
  15. กมฺมนฺตสมฺปทา : อิต. การถึงพร้อมด้วยการงาน, ความสำเร็จแห่งการงาน
  16. กมฺมสชฺช : ค. ผู้พร้อมที่จะทำกรรม
  17. กมฺมสมฺปตฺติ : (อิต.) การถึงพร้อมแห่งกรรม, ความถึงพร้อมแห่งกรรม,สมบัติของกรรม, การถึงพร้อมแห่งการงาน, ความพิจารณา การงาน, ความตรวจตราการงาน.
  18. กรุณาเวคสมุสฺสาหิตมานาส : (วิ.) ผู้มีฉันทะ มีในใจอันกำลังแห่งกรุณาอันให้อุตสาหะ พร้อมแล้ว. เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ส ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ฉ. ตัป. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
  19. กลฺลตา : อิต. ความสามารถ, ความพร้อม
  20. กาลสมุฏฺฐ าน : (นปุ.) การตั้งขึ้นพร้อมแห่ง กาล, กาลสมุฏฐาน กาลสมุตถาน เรียกโรค ที่เกิดขึ้นเพราะธาตุไม่เป็นไปตามปกติ.
  21. ขนฺติพล : (วิ.) ผู้มีกำลังอันบัณฑิตนับพร้อม แล้วว่าขันติ วิ. ขนฺติสํขาตํ พลํ อสฺส อตฺถีติ ขนฺติพโล. ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  22. คนฺธมาทน : (ปุ.) คันธมาทน์ ชื่อภูเขา เป็น ยอดของทิวเขาหิมาลัย ยอดที่ ๑ ใน ๖ ยอด, ภูเขายาหอม, ภูเขาอันยังสัตว์ผู้ถึง พร้อมให้เมาด้วยกลิ่น. วิ. อตฺตนิ สญฺชาต- คนฺธพฺพานํ คนฺเธหิ มทยติ โมทยตีติ วา คนฺธมาทโน. คนฺธปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท, ยุ. อรรถกถาสัมภวชาดก ติงสนิบาต วิ. สมฺปตฺตํ ชนํ คนฺเธน มทยตีติ คนฺธมาทโน. เวสฯ ๕๑๑.
  23. คยฺห : (วิ.) อัน...ย่อมติเตียน, อัน...พึงติเตียน, พึงติเตียน. ครหฺ นินฺทายํ, ณฺย, ธาตฺวนฺเตน สห ยฺหาเทโส (แปลง ย พร้อมกับที่สุด ธาตุเป็น ยฺห).
  24. จกฺขุสมฺผสฺส : (ปุ.) การถูกต้องพร้อมแห่งตา, การถูกต้องทางตา. จกฺขุสฺส (วิ) เกื้อกูลแก่จักษุ วิ.จกฺขุโน หิต จกฺขุสฺส สฺสปัจโมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๗๑
  25. จตุปจฺจยสนฺโตส : (ปุ.) ความยินดีพร้อมใน ปัจจัยสี่, ความยินดีในปัจจัยสี่, ความพอ ใจในปัจจัยสี่ ( ตามมีตามได้ ).
  26. จตุรงคสนฺนิบาต : (ปุ.) การประชุมพร้อมด้วย องค์สี่. การประชุมประกอบด้วยองค์สี่.
  27. จตุรุสฺสท : ค. หนาแน่นด้วยเหตุสี่ประการ, พรั่งพร้อมด้วยสิ่งประกอบสี่อย่าง คือ ประชาชน, ข้าว,ไม้, และน้ำ
  28. จาคสมฺปทา : อิต. จาคสัมปทา, ความถึงพร้อมด้วยการบริจาค
  29. จาตุรงฺคสนฺนิปาต : (ปุ.) การประชุมพร้อมด้วย องค์สี่, การประชุมประกอบด้วยองค์สี่, การประชุมมีองค์สี่. จาตุรงคสันนิบาตเป็น ชื่อของการประชุมในวันมาฆบูชาเมื่อพระ พุทธเจ้าตรัวรู้แล้วได้ ๙ เดือน องค์สี่คือ. – ภิกษุที่มาประชุม ๑๒๕๐ องค์ ล้วน เป็นพระอรหันต์ ภิกษุสงฆ์ทั้งหมดนั้นเป็นเอหิภิกขุ – อุปสัมปทา ภิกษุสงฆ์เหล่านั้นมากันเองโดยมิได้ นัดหมาย และ วันนั้นเป็นวันเพ็ญเดือนมาฆะ
  30. จิตฺตกลฺลตา : อิต. ความพรั่งพร้อมแห่งจิต, การฉับไวแห่งจิต
  31. จิตฺตปฏิสเวที : (วิ.) รู้พร้อมเฉพาะซึ้งจิต, จิตตปฏิสังเวที(ทำให้จิตแจ่มแจ้ง).
  32. จิตฺตสหภู : ค. ซึ่งมีพร้อมกับจิต, ซึ่งเกิดร่วมกับจิต
  33. ฉนฺทสมฺปทา : อิต. ความถึงพร้อมด้วยความพอใจ, ความตั้งใจแน่วแน่
  34. ชวสมฺปนฺน : ค. ผู้ถึงพร้อมด้วยเชาวน์หรือความว่องไว, ผู้มีความกระตือรือร้น
  35. ชาติสมฺปนฺน : ค. ผู้ถึงพร้อมด้วยชาติ, ผู้เกิดมาดี, ผู้มีตระกูล
  36. ชิณฺณพฺยาธิมตสงฺขาต : (วิ.) อันบัณฑิตนับ พร้อมแล้วว่าชนผู้แก่แล้วและชนผู้เป็น พยาธิและชนผู้ตายแล้ว.
  37. ชีวิตสีสี ชีวิตสทสีสี : (วิ.) ผู้มีกิเลสศรีษะสิ้น พร้อมด้วยชีวิต, ผู้มีกิเลสอันเป็นประธาน สิ้นไปพร้อมกับการสิ้นชีวิต, ผู้สิ้นกิเลส อันเป็นประธานพร้อมกับสิ้นชีวิต. กิเลส ที่เป็นประธานคืออวิชา. คำว่าสิ้นกิเลส พร้อมกับสิ้นชีวิตนั้นมิได้หมายความว่า เกิดพร้อมกันในวิถีจิตเดียวกัน อรหัตต – มัคคจิตเกิดประหาณ อวิชชาแล้ว ชีวิติน- ทรีย์ เจตสิกละรูปจึงดับ แม้ว่าจะห่างกัน หลายวิถีจิตก็จริง แต่เมื่อว่าโดยเวลาแล้ว ความดับกิเลสและสิ้นชีวิตก็กล่าวได้ว่าดับ ลงพร้อมกัน เพราะวิถีจิตเป็นไปเร็วมาก.
  38. เตปิฏกพุทธวจนสงฺขาต : (วิ.) อันบัณฑิต นับพร้อมแล้วว่าพระดำรัสของพระพุทธเจ้า คือหมวดแห่งปีฏกสาม.
  39. เตภูมิกวฏฺฏสขาต : (วิ.) อันบัณฑิตนับพร้อม แล้วว่า วัฏฏะอันเป็นไปในภูมิสาม.
  40. ทกฺขิเณยฺยสมฺปตฺติ : อิต. ทักขิไณยสมบัติ, ความถึงพร้อมด้วยบุคคลผู้ควรซึ่งทักษิณา
  41. ทณฺฑกมธุ : นป. รวงผึ้งพร้อมทั้งคอน, รวงผึ้งที่ห้อยติดอยู่กับกิ่งไม้
  42. ทนฺตสมฺปตฺติ : อิต. ความถึงพร้อมด้วยฟัน, ความถึงพร้อมแห่งฟัน, ความมีฟันเรียบร้อยสวยงาม
  43. ทสฺสนสมฺปนฺน : ค. ผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยทัศนะ, ผู้มีความรู้ความเห็นอันถูกต้อง
  44. ทสฺสิต : ๑. กิต. (อันเขา)แสดงแล้ว; ๒. ค. ผู้ (มีเครื่องแบบ) ปรากฏแล้ว, ผู้เตรียมเครื่องรบพร้อมสรรพแล้ว, ผู้สวมเกราะแล้ว
  45. ทิฏฺฐิสมฺปทา : อิต. ความถึงพร้อมด้วยทิฐิ, สมบูรณ์ด้วยความเห็นชอบ
  46. ทิฏฺฐิสมฺปนฺน : ค. ผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยทิฐิ, ผู้สมบูรณ์ด้วยความเห็นชอบ
  47. ทิพฺพภูสา : (อิต.) ผ้าอันเป็นทิพย์, ผ้าทิพ, ผ้า ทิพย์, ผ้าทพ ผ้าทิพย์ ชื่อผ้าที่ห้อยตรง หน้าฐานพระพุทธรูป ทำเป็นลายผ้า เมื่อปั้นหุ่นฐานพระพุทธรูป เมื่อเทวัตถุอะไรลงไปตามที่ต้องการก็สำเร็จเป็นผ้าทิพย์พร้อมกับฐานนั้น. อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของพระราชอาสน์พนักพลับพลา.
  48. ทุกฺขสมุทย : (ปุ.) ความตั้งขึ้นพร้อมแห่งทุกข์, ความเกิดขึ้นแห่งทุกข์, เหตุให้เกิดทุกข์, ทุกขสมุทัย ชื่ออริยสัจ ๔ ข้อที่ ๒.
  49. ทุกฺขิต : (วิ.) ผู้ลำบาก วิ. ทุกฺขตีติ ทุกฺโข. ทุกฺขฺ ทุกฺเข, อิโต. ผู้มีความลำบากเกิดพร้อมแล้ว, ผู้มีความลำบากทุกประการ. วิ. ทุกขํ สํชาตํ เอตสฺสาติ ทุกฺขิโต. ผู้มีความลำบาก วิ. ทุกฺขํ อสฺส อตฺถีติ ทุกฺขิโต. ผู้เป็นไปแล้วโดย ความลำบาก, ผู้เป็นไปด้วยความยาก. วิ. ทุกเขน อิโตติ ทุกฺขิโต. ทุกฺข+อิตศัพท์.
  50. เทโวโรหณสมาคม : (ปุ.) การมาพร้อมกัน (ประชุมกัน) ในกาลเป็นที่เสด็จลงจากเทวโลก.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-165

(0.0617 sec)