Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พะ , then , พะ, พา, วะ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พะ, 277 found, display 1-50
  1. พฺยาธิ : (ปุ.) ภาวะอันเสียดแทง, ภาวะที่เบียดเบียน, ภาวะอันบีบคั้นใจ, ภาวะอันทำลาย, ความบีบคั้น, ความเจ็บไข้, โรค, พยาธิ. วิ. วิชฺฌตีติ วฺยาธิ วา. วิธฺ วิชฺฌนาพาธเนสุ, อิ. แปลง อิ ที่ วิ เป็น ย ลง อา อาคม. อภิฯ. คำ พยาธิ ในพจนาฯ ให้อ่านว่า พะยาด และให้ความหมายว่า ได้แก่ตัวเชื้อโรคชนิดหนึ่งที่เกิดในกายและเชื้อโรคอย่างหนึ่ง ที่เกิดจากผิวหนัง ผู้เขียนพจนาฯ มคธ นี้ ว่า ที่เป็นชื่อของโรคผิวหนัง อ่านเรียงพยางค์ว่า พะ-ยา-ธิ เหมาะกว่า.
  2. กุญฺชิย : (ปุ.) น้ำส้มพะอูม.
  3. ทุพฺพา : (อิต.) หญ้าแพรก วิ. อวมงฺคลํ ทุพฺพตีติ ทุพฺพา. ทุพฺพ หึสายํ, อ. ทุนฺนิมิตฺตาทโย วาเรนฺติ เอตายาติ วา ทุพฺพา. ทุนฺนิมิต-ตาทิปุพฺโพ, วรฺ อาวรเณ, อ. ลบบทหหน้าเหลือ ทุ และ ลบ รฺ แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ อา อิต. ส. ทูพ, ทุรฺพพา.
  4. ธญฺญมูล : (นปุ.) น้ำส้มพะอูม.
  5. พพฺภรพ : ป. การทำเสียงให้ดัง; การทำให้ก้อง, การทำเสียงดังพะพะ เช่น เสียงทุบและเสียงกระทบเป็นต้น
  6. พิลงฺค : (ปุ.) น้ำผักดอง, น้ำส้ม, น้ำส้มพะอูม (เครื่องกินกับข้าวของแขก), น้ำพริก. วิ. วาตํ ลงฺคติ หีนํ กโรตีติ พิลงฺโค. วาตปุพฺโพ, ลคิ คมเน, อ, วาตสฺส พิ. วิเสเสน ลงฺ-คตีติ วา พิลงฺโค.
  7. อารนาลอารนาฬ : (นปุ.) น้ำส้ม, น้ำส้มพะอูม(หนังสือเก่าเป็นน้ำส้มประอูม).วิ.อาโรนาโลคนฺโธยสฺสตํอารนาลํอารนาฬํวา.อารานํวาภูมฺยกฺกชานํวาเรสุคติเตนนาเรนชเลนชาตํอารนาลํอารนาฬํวา.
  8. อาลนาล : (นปุ.) น้ำส้มพะอูม.
  9. พารส : (ไตรลิงค์) สิบสอง. ทวิ+ทส แปลง ทฺวิ เป็น พา ท เป็น ร. รูปฯ ๓๙๖.
  10. พารณเสยฺยก : (วิ.) ผู้เกิดในเมืองพาราณสี, ผู้อยู่ในเมืองพาราณสี. เณยฺย ปัจ. ก สกัด หรือ เณยฺยก ปัจ.
  11. พาราณสี : (อิต.) พาราณสี ชื่อพระนคร ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ.
  12. พาราณเสยฺยก : ค. แห่งเมืองพาราณสี, สิ่งที่ทำหรือมาจากเมืองพาราณสี
  13. พาลิกา : อิต. ดู พาลา
  14. พทรฏฺฐิ : นป. เม็ดพุทรา
  15. พทรปณฺฑุ : นป. ผลพุทรา (สด) มีสีเหลืองอ่อน
  16. พทรมิสฺส : ค. ผสมด้วยผลพุทรา
  17. พทรยูส : ป. น้ำคั้นผลพุทรา
  18. พทรา : อิต. ฝ้าย, พุทรา
  19. พทรา พทรี : (อิต.) ฝ้าย, พุทรา, ต้นพุทรา, กระเบา. พทฺ เถริเย, อโร. อา อี อิต.
  20. พทรี : อิต. ต้นพุทรา, กะเบา
  21. พทาลตา : อิต. เครือดิน (ไม้เถาชนิดหนึ่งมีสัณฐานคล้ายผักบุ้งหรือแพงพวย)
  22. พยาปน : (นปุ.) ความซ่านไป, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
  23. พยาปาร : (ปุ.) ความขวนขวาย. วิ อา ปุพฺโพ, ปรฺ คติยํ, โณ.
  24. พหินกฺขมน : นป. การออกไปภายนอก
  25. พหินคร : นป. นอกเมือง
  26. พากุจี : (อิต.) กำยาน. วกฺ อาทาเน, อโจ, วสฺส โพ, อสฺส อุ, อิตฺถิยํ อี.
  27. พาธน : (ปุ.) ความเบียดเบียน, ความยาก, ควาลำบาก. ความทุกข์. พาธฺ วิพาธายํ, อ, อิ, ยุ.
  28. พานี : (อิต.) นางฟ้า (ผู้บำเรอเทวบุตร)?
  29. พาลา : อิต. เด็กหญิง
  30. พาลากา : (อิต.) นกตะกรุม.
  31. พาลาตป : ป. ดู พาลสุริย
  32. พาลิส : (วิ.) เขลา, โง่. พาล+อิส สกัด.
  33. พาลิสิก : (ปุ.) คนผู้จับปลาด้วยเบ็ด, พรานเบ็ด, พลิส+ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  34. พาวีสติ : (ปุ.) ยี่สิบสอง. ทวิ+วีสติ.
  35. พาสุกี : (ปุ.) พญางู, พญนาค. ดู วาสุกี.
  36. พาหน : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องนำไป, ยาน. ดู วาหน ด้วย.
  37. พาหาปรมฺปรา : อิต. การคล้องแขนด้วยแขน, การควงแขนกัน
  38. พาหิต : ค. อันเขากั้น, ซึ่งเขาป้องกัน
  39. พาหิตตฺต : นป. การกั้น, การป้องกัน
  40. พาหิตปาป : (วิ.) มีบาปอันลอยแล้ว.
  41. พาหิติกา : อิต. เสื้อคลุม, เสื้อกันหนาว
  42. พาหิริม : ค. อันมีในภายนอก
  43. พาเหติ : ก. นำไป, ให้เลื่อนไป
  44. ทฺวาทส ทฺวารส พารส : (ไตรลิงค์) สิบยิ่ง ด้วยสอง, สิบสอง. วิ ทฺวีหิ อธิกา ทสาติ ทฺวาทส. เทฺว จ ทส จาติ วา ทฺวาทส. แปลง อิ ที่ ทฺวิ เป็น อา แปลง ท เป้น ร เป็น ทฺ วารส แปลง ทฺวิ เป็น พา เป็น พารส ส. ทฺวาทศ.
  45. พุทฺธปญฺห : ป. ปัญหาที่เกี่ยวกับพระพุทธมนต์ ซึ่งพระสารีบุตรถามปริพพาชิกา ชื่อกุณฑลเกสี
  46. สุทสฺส : (วิ.) อันบุคคลพึงเห็นได้โดยง่าย. วิ. สุเขน ปสฺสิตพฺพนฺติ สุทสฺสํ. ทิสฺ เปกฺขเณ, โข. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส. ผู้เห็นสิ่งต่างๆ ด้วยดีเพราะความที่แห่งตนเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปสาทจักขุและทิพพาจักขุที่บริสุทธิ์ วิ. ปริสุทฺเธหิ ปสาททิพฺพจกฺขูหิ สมฺปนฺนตา สุฏฺฐุ ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสา.
  47. ปพฺพาชนิยกมฺม : นป. ปัพพาชนียกรรม, กรรมที่สงฆ์กระทำแก่ภิกษุผู้ควรถูกขับไล่, การลงโทษด้วยการขับไล่จากอาวาส
  48. ปพฺพาชนียกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำ แก่ภิกษุผู้อันสงฆ์พึงขับไล่, กรรมอันสงฆ์ พึงทำแก่ภิกษุผู้มีอธิกรณ์อันสงฆ์พึงขับไล่, การขับไล่, ปัพพาชนียกรรม ชื่อกิจที่สงฆ์ พึงทำแก่ภิกษุผู้ประทุษร้ายตระกูลหรือ ประพฤติลามกให้ออกไปเสียจากหมู่ (วัด) ทำด้วยวิธีญัตติจตุตถกรรม. ไตร. ๖.
  49. ปพฺพาเชตาย : (วิ.) ผู้ควรเพื่ออันสงฆ์ขับไล่, ผู้ ควรขับไล่. วิ. ปพฺพาเชตุ อรหตีติ ปพฺ พาเชตาโย. ราย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๗๗.
  50. ปุพฺพาสาฬฺห : (ปุ.) ปุพพาสาฬหะ บุรพาษาฒ ชื่อดาวฤกษ์ กลุ่มที่ ๒๐ ใน ๒๗ กลุ่ม มี ๓ ดาว, ดาวสัปคับช้าง.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-277

(0.0530 sec)