เถยฺยสวาสก : (ปุ.) คนลักเพศ. คนลักเพศ คือคนที่ปลอมบวชเป็นภิกษุหรือสามเณร หรือคนที่บวชเอาเอง หรือภิกษุสามเณร ที่ทำผิดวินัยถึงขาดจากความเป็นบรรชิต แต่ยังครองผ้ากาสาวพัตรอยู่.
อรหธชอรหทฺธช : (ปุ.) ธงชัยของพระอรหันต์, จีวร (ผ้ากาสาวพัตร). วิ. อรหตํ ธโช อรหธ-โชวา.
อรหธช อรหทฺธช : (ปุ.) ธงชัยของพระอรหันต์, จีวร (ผ้ากาสาวพัตร). วิ. อรหตํ ธโช อรหธ- โช วา.
ตป : (ปุ.) ความเพียร เครื่องเผากิเลส, คุณ ธรรมอันยังกิเลสให้ร้อน, คุณธรรมอันยัง กิเลสให้เร่าร้อน (แห้ง), ความร้อน, ความสำรวม, ความเพียร, ธรรม, วัตร, พรต (ธรรมมีศีลเป็นต้น ความบำเพ็ญพรตเผา กิเลส), ศีล, ตบะ. วิ. กิเลเส ตาเปตีติ ตโป. ตปฺ ทาเห สนฺตาเป วา, อ. ส. ตปสฺ.
นิยม : (ปุ.) การกำหนด, การหมายไว้, การจำ ศีล, ความกำหนด, ความแน่นอน, ความพร้อมกัน, ความประพฤติ, ความชอบ, ความนับถือ, วัตร, พรต, พรตที่ประพฤติ ตามกาล. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, อ. คำนิยม ไทยใช้เป็นกิริยา ในความหมายว่า ชมชอบ ชื่นชม ยินดี ยอมรับ นับถือ. ส. นิยม.
ขุทฺทานุขุทฺทก : (นปุ.) วัตรน้อย และวัตรน้อย- โดยลำดับ, วัตรน้อยและวัตรใหญ่ (จูฬวตฺ- ตมหาวตฺต) วัตรปฏิบัติน้อยใหญ่, วัตร ปฏิบัติอันเป็นขนบธรรมเนียมอันดีงาม.
กณฺฏกาปสฺสย : ป. เตียงนอนที่ทำด้วยหนังสัตว์มีหนามหรือตะปูแหลมรองรับอยู่เบื้องล่าง (เป็นวัตรของนักพรตเปลือยจำพวกหนึ่ง)
กณภกฺข : ๑. นป. การกินรำ, การประพฤติวัตรของนักพรตจำพวกหนึ่ง ;
๒. ค. ผู้มีรำเป็นอาหาร
กิจฺจวตฺต : (นปุ.) ความประพฤติอัน...พึงทำ, ฯลฯ, ความประพฤติตามหน้าที่, เรียกกิจ ทางศาสนาที่จะพึงทำเป็นประจำ เช่น ทำ วัตรเช้า ทำวัตรเย็น เป็นต้นว่า กิจวัตร. กิจที่ทำเสมอ ๆ แม้มิใช่กิจทางศาสนาก็ เรียกกิจวัตรได้บ้าง ผู้เขียนมีความเห็นว่า ควรยกไว้เป็นศัพท์เฉพาะกิจทางศาสนา เหมาะกว่า.
กุกฺกุรวติก : ค. ผู้ประพฤติวัตรเหมือนอย่างสุนัข, ผู้มีกิริยาอาการเยี่ยงสุนัข
คมิกวตฺต : นป. วัตรของผู้จะเดินทาง, การเตรียมเพื่อจะเดินทาง
โควติก : ค. ผู้ประพฤติวัตรอย่างโค
โคสีล : นป. โคศีล, การประพฤติวัตรอย่างโค
จงฺกมิก : ค. ผู้เดินจงกรมเป็นปกติ, ผู้ถือการจงกรมเป็นวัตร
เตจีวริก : (วิ.) ผู้ทรงไว้ซึ่งไตรจีวรเป็นวัตร. โมคฯ ณาทิกัณฆ์ ๗๒ วิ. ติจีวรธารณํ สีลมสฺสาติ เตจีวริโก (ภิกฺขุ). รูปฯ ๓๖๐ วิ. ติจีวรธารณํ ตีจีวรํ. ตํ สีล มสฺสาติ เตจีวริโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
ธมฺมานุวตฺตี : ค. อนุวัตรตามธรรม, ปฏิบัติธรรม, คล้อยตามธรรม
ธุตงฺค ธูตงฺค : (นปุ.) องค์อันเป็นเครื่องกำจัด ซึ่งธรรมอันเป็นอกุศล, องค์เป็นเครื่องกำ จัดกิเลส, ธุดงค์ ชื่อวัตรปฏิบัติพิเศษของ ภิกษุมี ๑๓ ข้อ.
โธรยฺหวต : นป. การนำธุระไปเป็นวัตร, ความเป็นสัตว์ที่นำภาระไป
นาควตฺต : นป. นาควัตร, วัตรนาค, ข้อประพฤติประจำของนาค
นาควตฺติก : ค. มีวัตรอย่างวัตรของนาค
ปตฺตปิณฺฑิก : ป. ภิกษุผู้ถือฉันอาหารเฉพาะในบาตรเป็นวัตร
ปตฺตปิณฺฑิกงฺค : (นปุ.) องค์แห่งภิกษุผู้มีการถือเอาอาหารในบาตรเป็นวัตร, องค์แห่งภิกษุผู้ถือการฉันอาหารในบาตรเป็นวัตร, องค์แห่งภิกษุผู้ถือการฉันเฉพาะในบาตร เป็นวัตร, ปัตตปิณฑิกังคะ ชื่อธุดงค์อย่างที่ ๖ ในธุดงค์ ๑๓.
ปสุกูลิก : ค. ผู้ใช้ผ้าบังสุกุลเป็นวัตร
มานตฺต : (นปุ.) มานัด ชื่อของการประพฤติวัตรเนื่องด้วยการนับราตรี.
มูควตฺต : (นปุ.) ความประพฤติใบ้, ความประพฤติเป็นคนใบ้, มูควัตร ชื่อวัตรของเดียรถีอย่างหนึ่ง คือ ประพฤติเป็นคนใบ้ไม่พูดจากัน.
รุกฺขมูลิก : ค. ผู้ถือการอยู่โคนต้นไม้เป็นวัตร
วตฺต : นป. วัตร, หน้าที่, การปฏิบัติ
วตฺตี : ค. ผู้มีวัตร
สีลพฺพต : (นปุ.) ศีลและวัตร, ศีลและพรต.
สีลพฺพตปรามาส : (ปุ.) การถือมั่นศีลและพรต, การยึดมั่นศีลและพรต, การจับต้องศีลหรือพรต, สีลัพพตปรามาส คือ ความเชื่อถือความศักดิ์สิทธิ์ด้วยเข้าใจว่ามีได้ด้วยศีลหรือวัตรปฏิบัติ เป็นการรักษาหรือบำเพ็ญพรตด้วยความเชื่อเรืองบันดาลไม่เชื่อกรรม เชื่อความขลัง.
สุพฺพต : (วิ.) มีวัตรอันดี, มีวัตรอันงาม, มีวัตรดี, ประพฤติดี.
เสขียวตฺต : (นปุ.) ข้อปฏิบัติอัน...พึงศึกษา, ฯลฯ, ข้อปฏิบัติที่ภิกษุต้องใส่ใจ, ข้อปฏิบัติที่ภิกษุต้องเอาใจใส่, วัตรที่ภิกษุต้องใส่ใจ, ฯลฯ, ข้อปฏิบัติที่ภิกษุและสามเณาต้องใส่ใจ, ข้อปฏิบัติที่ภิกษุและสามเณรต้องเอาใจใส่, วัตรที่ภิกษุและสามเณรต้องใส่ใจ, ฯลฯ.
โสสานิก : (วิ.) ผู้อยู่ในป่าช้า วิ. สุสาเน วสตีติ โสสานิโก. ผู้มีการอยู่ในป่าช้าเป็นปกติ วิ. สุสาเน วสนํ สีลมสฺสาติ โสสานิโก. ผู้มีปกติอยู่ในป่า วิ. สุสาเน วสนสีโล โสสานิโก. ผู้อยู่ในป่าช้าเป็นวัตร. ณิก ปัจ. ตรัตยาทิตัท.
โสสานิกงฺค : (นปุ.) องค์แห่งภิกษุผู้มีอันอยู่ในป่าช้าเป็นวัตร, โสสานิกังคะ ชื่อธุรงค์อย่าง ๑ ใน ๑๓ อย่าง ผู้สมาทานธุดงค์นี้ต้องอยู่ในป่าช้า.
อนริย : (วิ.) มิใช่เป็นวัตรปฏิบัติของพระอริยะ, มิใช่ของพระอริยะ, อันไม่ประเสริฐ, ไม่ประเสริฐ.ส.อนารยไม่เจริญ, ป่าเถื่อน.
อนุพฺพต : ค. ผู้มีวัตรปฏิบัติอันสมควร, ผู้เชื่อถือ, ผู้เลื่อมใส
อนุวตฺตก : ค.ผู้คล้ายตาม, ผู้อนุวัตรตาม
อนุวตฺตติ : ก. อนุวัตรตาม, คล้อยตาม, ดำเนินตาม
อนุวตฺตน : นป. การอนุวัตรตาม, ความคล้อยตาม
อนุวตฺตี : ค. ผู้อนุวัตรตาม, ผู้คล้อยตาม, ผู้เห็นตาม
อพฺพตน : ป., ค. ความเป็นผู้ไม่มีวัตร, การทำลายกฎศีลธรรม, ผิดศีล
อพฺโภกาสิก : ป. ผู้อยู่ในที่กลางแจ้ง, ผู้อยู่กลางแจ้งเป็นวัตร
อพฺโภกาสิกงฺค : นป. องค์คุณของภิกษุผู้ถือการอยู่ในที่แจ้งเป็นวัตร
อรญฺญกตฺต : นป. ความเป็นผู้อยู่ในป่า, การถืออยู่ในป่าเป็นวัตร
อริยวตฺตี : ค. ผู้ประพฤติดี, ผู้มีอริยวัตร
อาคนฺตุกวตฺต : นป. วัตรหรือกิจที่ต้องทำแก่ภิกษุผู้จรมา
อาจริยวตฺต : (นปุ.) วัตรอันศิษย์ (อันเตวาสิก)พึงทำแก่อาจารย์, กิจอันอันเตวาสิกพึงทำแก่อาจารย์, กิจที่ควรประพฤติปฏิบัติแก่อาจารย์, วัตรเพื่ออาจารย์, กิจเพื่ออาจารย์.
อาจริยุปชฺฌายวตฺตาทิ : (วิ.) มีวัตรอันอันเตวาสิกพึงทำแก่อาจารย์และวัตรอันสัทธิวิหาริกพึงทำแก่พระอุปชฌายะเป็นต้น มี วิ. ตามลำดับดังนี้.จ. ตัป อาจริยสฺสกตฺตพฺพํ วตฺตํอาจริยวตฺตํ.จ. ตัปอุปชฺฌายสฺสกตฺตพฺพํ วตฺตํอุปชฺฌายวตฺตํ.อ. ทวัน. อาจริยวตฺตญฺจอุปชฺฌายวตฺตญฺจอาจริยุปชฺฌายวตฺตานิ.ฉ. ตุล. อาจริยุปปชฺฌายวตฺตานิอาทีนิเยสํตานิอาจริยุปชฺฌายวตฺตาทีนิ (วตฺตานิ).
อารญฺญกงฺค : นป. การสมาทานธุดงค์ คือการอยู่ป่าเป็นวัตร, องค์ของภิกษุผู้ถือการอยู่ป่าเป็นวัตร
อารญฺญกตฺต : นป. ความเป็นผู้อยู่ป่าเป็นวัตร, การถือการอยู่ป่าเป็นวัตร