จตุราปสฺเสน : ค. ผู้มีธรรมเป็นที่พักพิงมีสี่ประการ
ธมฺมทีป : ๑. ค. ธรรมประทีป, ผู้มีธรรมเป็นดวงประทีป;
๒. ค. ผู้มีธรรมเป็นที่พึ่ง, มีธรรมเป็นที่พักพิง
ปรายณ, - ยน : นป. ที่พึ่ง, ที่พำนัก, ที่พักพิง, เครื่องแบ่งเบา, จุดหมายขั้นสุดท้าย, จุดจบ; ในคำสมาสแปลว่า....เป็นที่ไปในเบื้องหน้า, มี....เป็นที่สุด, ตรงต่อ..., เที่ยงต่อ...
ปสฺสย : ป. ที่อยู่อาศัย, อาศรม, ที่พึ่งพิง, ที่พักพิง
ปุญฺญสฺสย : ป. ธรรมเครื่องอาศัยคือบุญ, ธรรมเป็นเครื่องพึ่งพิงคือบุญ
อธินอธีน : (วิ.) ผู้อาศัย, ผู้พึ่ง, ผู้พี่งพิง, ผู้ว่าง่ายผู้สอนง่าย, เป็นบ่าว, เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เนื่องด้วย.อธิคโตอิโนปภูเยนาติอธีโน.อธีน
อธิน อธีน : (วิ.) ผู้อาศัย, ผู้พึ่ง, ผู้พี่งพิง, ผู้ว่าง่าย ผู้สอนง่าย, เป็นบ่าว, เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เนื่องด้วย. อธิคโต อิโน ปภูเยนาติ อธีโน. อธีน
อธีน : ค. ผู้อาศัย, ผู้พึ่งพิง
อปรายี : ค. ซึ่งไม่มีที่พึ่งพิง, ไม่มีอุปถัมภ์
อปสฺสย : ป. เครื่องหนุน, หมอนข้าง, พนักพิง, เตียง, เสื่อ
อปสฺเสติ : ก. พิง, อิง, หนุน
อปสฺเสนผลก : (นปุ.) กระดานหก, กระดานพิง, พนักพิง.
อปาลมฺภ : ป. กระดานพิง, พนักพิง
อวสฺเสติ : ก. พิง, อาศัย, เนื่องอยู่
อายตฺต : (วิ.) ผู้พึ่ง, ผู้พึ่งพิง, ผู้อาศัย, ผู้อยู่ในอำนาจ.อาปุพฺโพ, ยตฺปยตเน, โต.
อายตฺตตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้พึ่งพิง, ฯลฯ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ขยัน, ฯลฯ.
โอลุพฺภ : กิต. พิงแล้ว, ยันแล้ว, ยึดแน่นแล้ว
คุมฺพ : (ปุ.) กอ, กอไม้, พง, พุ่ม, พุ่มไม้, ซุ้ม ไม้, สุมทุม (ซุ้มไม้ที่ปกคลุมด้วยต้นไม้ และเถาวัลย์) หมู่, พวก, ฝูง, ประชุม, กอง, คณะ, กลุ่มก้อน, กองทหาร, ขบวนทัพ, เสา. คุปฺ รกฺขเณ, โพ, ปสฺส โม. คุมฺพฺ คุมฺพเน วา, อ.
ปุพฺพงจริต : นป. ความประพฤติอันมีมาก่อน, เรื่องราวที่ล่วงมาแล้ว
ธมฺมวิจย : (วิ.) ผู้เลือกเฟ้นวึ่งธรรม, ผู้ค้นคว้าซึ่งธรรม, ผู้คัดเลือกซึ่งธรรม. วิ. ธมฺมํ วิจินาตีติ ธมฺมวิจโย. ผู้เลือกเฟ้นซึ่งธรรมอันเป็นไปภายในและภายนอกอันเป็นภูมิของวิปัสสนา วิง วิปสฺสนาย ภูมิภุเต อชฺฌตฺตพิหิทฮชฺธา ธมฺมเม วิจินาตีติ ธมฺมวิจโย. ธมฺม+วิ+จิ+อปัจง แปลง อิ เป็น เอ เอ เป็น อย. รูปฯ ๕๕๒
อฏวี : (อิต.) ป่า, หมู่ป่า, ป่าใหญ่, ดง, พง.อฎฺ คมเน, อโว, อิตฺถิยํ อี. อถวา, อาสทฺโทอุทฺธิคมนตฺเถ, ฏุ วิรูหเน, โณ, อิตฺถิยํอี.ส. อฎวี.
ฌายติ : ก. เพ่ง, ตรึก; เผา, ไหม้
นุตฺต : กิต. ซัด, พุ่ง, ยิง
ปชฺฌายติ : ก. เพ่ง, ตรึกตรอง
เปกฺข : (วิ.) ดู, เห็น, ปรากฏ, เพ่ง, มุ่ง, จดจ่อ. ป+อิกฺขฺ+ณ ปัจ.
มุจฺฉา : (อิต.) ความวิงเวียน, ความสยบ (ฟุบลง) , ความสลบ (แน่นิ่ง หมดความรู้สึก), การวิงเวียน, การเป็นลม. มุจฺฉฺ โมหสมุสฺสเยสุ, อ, อิตฺถิยํ อา.
อตฺต : (วิ.) ซัด, พุ่ง, ยิ่ง. อสุ เขปเน, โต.
อนุสญฺเจเตติ : ก. เพ่ง, ตรึก, พิจารณา
อปชฺฌายติ : ก. เพ่ง, พิจารณา
อปโลกี : ค. มองดู, เพ่ง, ระวัง, เตือน
อภิชฺฌาติ : ก. อยาก, โลภ, เพ่ง
อิกฺขติ : ก. เห็น, ดู, เพ่ง
อิฏฺฐคนฺธ : (วิ.) มีกลิ่นอัน...พีงใจแล้ว, มีกลิ่น... อันพีงใจ, ฯลฯ. วิ. อิฏฺโฐ คนฺโธ อสฺสาตฺถีติ อิฏฺฐคนฺโธ. ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.