อุปสมฺผสฺสติ : ก. กอด, รัด, สัมผัส
ผสฺสติ : ก. ถูกต้อง, สัมผัส; ได้รับ; ถึง, บรรลุ
ผุสติ : ก. ถูกต้อง, สัมผัส, บรรลุ, ได้รับ; เป็นประกาย; โปรย, พรม
ผุสียติ : ก. (อันเขา) ถูกต้อง, สัมผัส
มุทฺทา : (อิต.) ตรา, ตราประทับ, เครื่องสำหรับตีตรา, เครื่องหมาย, รอย, แหวน, แหวนตรา, พิมพ์ (รูปแบบ), ลัญจกร.
ปญฺจกามคุณ : ป. กามคุณห้า (รูป, เสียง, กลิ่น, รส, สัมผัส)
ผุสน : (นปุ.) การถูก, การถูกต้อง, ธรรมชาติอันบุคคลพึงถูกต้อง, สัมผัส.
ผุสนา : (อิต.) การถูก, การถูกต้อง, ธรรมชาติอันบุคคลพึงถูกต้อง, สัมผัส.
พุทฺธาภิเสก : (ปุ.) การได้บรรลุเป็นพระพุทธเจ้า, พุทธาภิเษก. พุทธาภิเษกไทยใช้เป็นชื่อของพิธีกรรม มีพระสงฆ์สวดสรรเสริญคุณ มีพระอาจารย์นั่งปรกในการหล่อ พิมพ์ พระพุทธรูป หรือ รูปเปรียบ รูปเหมือน หรือวัตถุต่างๆ หรือเมื่อหล่อหรือพิมพ์แล้ว เพื่อบรรจุพลังจิตลงไปในรูปหรือวัตถุนั้นๆ ไม่ใช่ปลุกพระพุทธเจ้าดังที่บางท่านเข้าใจ เพราะพระพุทธเจ้าทรงเป็นพุทธะแล้ว.
กายวิญฺญาณ : นป. ความรู้สึกในกายสัมผัส, ความรู้แจ้งอารมณ์ด้วยกายคืออาการที่รู้ว่าสัมผัส
กายวิญฺเญยฺย : ค. ซึ่งควรรู้ชัดด้วยกาย, ซึ่งสัมผัสทางกาย
กายสมฺผสฺส : ป. การสัมผัสด้วยกาย, ความรู้สึกทางสัมผัส
กายสสคฺค : ป. การจับต้องกาย, การสัมผัสกาย, การเกี่ยวข้องทางกาย
ฆานสมฺผสฺส : (ปุ.) การถูกต้องทางจมูก, ฆานสัมผัส.
เจโตสมฺผสฺส : ป. การสัมผัสทางใจ, การถูกต้องด้วยใจ
ชิวฺหาสมฺผสฺส : ป. การกระทบด้วยลิ้น, ความสัมผัสทางลิ้น
ทุกฺขสมฺผสฺส : ค. มีสัมผัสเป็นทุกข์
ทุกฺขสมฺผสฺสตา : อิต. ความเป็นสิ่งมีสัมผัสเป็นทุกข์
ปรามส : ป. การถูกต้อง, การจับต้อง, การลูบคลำ, การจับฉวย, การยึดมั่น, การกอดรัด, สิ่งสัมผัสอันเป็นภัย, โรคติดต่อ
ปุฏฺฐ : ค. อัน...ถามแล้ว, ถูกถามแล้ว; อัน...เลี้ยงแล้ว; อัน...ถูกต้องหรือสัมผัสแล้ว
ปุฏฺฐวนฺตุ : ค. ผู้ถูกต้องหรือสัมผัส
ผสฺสกาย : ป. หมวดแห่งสัมผัส
ผสฺสสมฺปนฺน : ค. ถึงพร้อมด้วยสัมผัสที่น่ารัก
ผสฺสิต : ค. ซึ่งถูกต้อง, ซึ่งสัมผัส, ซึ่งได้รับ, ซึ่งบรรลุ
ผสฺเสติ : ก. สัมผัส, ถูกต้อง, ได้รับ, ถึง
ผุฏฺฐ : ค. ซึ่งถูกต้อง, ซึ่งสัมผัส, ซึ่งกระทบ, ซึ่งแผ่ซ่าน, ซึ่งเสียวซ่าน
ผุสิตุ : อ. (ปฐ., จตุ.) การถูกต้อง, การสัมผัส; เพื่อถูกต้อง, เพื่อสัมผัส
โผฏฺฐ : ค. ซึ่งถูกต้อง, ซึ่งสัมผัส
มุต : ๑. นป. การรับรู้แห่งสัมผัส;
๒. กิต. รู้
มุทฺทงฺกณ : นป. การพิมพ์
มุทฺทนยนฺตาลย : (ปุ.) โรงพิมพ์
มุทฺทาปก : ป. คนพิมพ์, คนประทับตรา
มุทฺทาเปติ : ก. ตีพิมพ์, ตีตรา
มุทฺทามสิ : (ปุ. นปุ.) หมึกพิมพ์.
สมฺผสฺสชาเวทนา : (อิต.) ความเสวยอารมณ์อันเกิดจากสัมผัส, ความเสวยอารมณ์ที่เกิดจากสัมผัส.
โสธยปณฺณ : (นปุ.) ปรุ๊ฟ คือแผ่นหนังสือที่พิมพ์มาให้เจ้าของต้นฉบับตรวจว่าเรียงถูกต้องตามต้นฉบับหรอไม่.
โสมนสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีใจดี, ความเป็นผู้มีใจดี, ความปลาบปลื้ม, ความเบิกบาน, ความสุขทางใจ, ความสุขทางใจ, ความโสมนัส, โสมนัส คือเสวยอารมณ์ที่สบายอันเกิดแต่เจโตสัมผัส. วิ. สุมนสฺส ภาโว โสมนสฺสํ. สุมน+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง อุ เป็น โอ ลบ ณฺ ลงสฺ อาคม แปลง ย เป็น ส รูปฯ ๓๗๑.
อปฺผุฏ, - ผุต : ค. ซึ่งมิได้สัมผัส, ซึ่งไม่แตะต้อง
อผสฺสิต : ค. ไม่สัมผัส, ไม่ถูกต้อง
อผุสิต : กิต. ไม่ถูกต้องแล้ว, ไม่ได้สัมผัสแล้ว
อรูปธมฺม : (ปุ.) ธรรมมิใช่รูป, ธรรมที่ไม่มีรูป, อรูปธรรม, นามธรรม (ภาวะที่สัมผัสด้วยอายตนะคือ ตาหูจมูกลิ้นและกายไม่ได้สัมผัสสะได้แต่ใจ).
อสมฺผุฏ, - ผุฏฺฐ : ค. ไม่สัมผัส, ไม่ถูกต้อง
อาผุสติ : ก. สัมผัส, ถูกต้อง, กระทบ
พิมฺพ : (ปุ.) รูป, รูปเปรียบ, แบบ, พรรณะ. วมุ อุคฺครเณ, โพ. แปลง ว เป็น พ แปลง อ เป็น อิ.
พิมฺพิ : (นปุ.) ทอง, ทองคำ.
พิมฺพิ, พิมฺพิกา, พิมฺพี : อิต. มะกล่ำหลวงตำลึง
พิมฺพุ : ป. ต้นพลู
ฉาป ฉาปก : (ปุ.) ลูกน้อย. ฉุปฺ สมฺผสฺเส, โณ, อุสฺสาตฺตํ (แปลง อุ เป็น อา) ศัพท์หลัง ก สกัด.
ผสฺส : (ปุ.) อันกระทบ, อันถูกต้อง, การกระทบ, การถูกต้อง, ความกระทบ, ความถูกต้อง. วิ. ผุสนํ ผสฺโส. ผัสสะ อารมณ์ วิ. ผุสิยเตติ ผสฺโส ผุสิตพฺโตติ วา ผสฺโส. ผุสฺ สมฺผสฺเส, อ, ผสสฺส ผสฺโส (แปลง ผุส เป็น ผสฺส). อภิฯ. รูปฯ ๕๖๑ ลง ณ ปัจ. สัมปยุตตธรรม ประกอบด้วยสิ่งนั้น ชื่อผัสสะแต่ละอย่าง เช่น ตากระทบรูป เป็นต้น.
โผฏฺฐพฺพ : (นปุ.) อารมณ์อันบุคคลพึงถูกต้อง, อารมณ์ที่มาถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้องกาย, สิ่งที่ถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้องกาย, สิ่งที่ถูกต้องได้ด้วยกาย. สิ่งที่เย็น ร้อน อ่อน แข็ง ละเอียด หยาบ ซึ่งมากระทบกายกระทบผิวกาย เรียกว่า โผฏฐัพพะทั้งสิ้น. ผุสฺ สมฺผสฺเส, ตพฺโพ, สสฺส โฏ, ตสฺส โฐ.