อญฺเจติ, อญฺจยติ : ก. แปลก, พิเศษ
อพฺโพหาริก,- ริย : ค. กล่าวอ้างไม่ได้, กล่าวไม่ได้ว่ามี, เพิกเฉย, พิเศษ
โอธิโส : ก. วิ. โดยส่วน, โดยถ่องแถว, เฉพาะ, พิเศษ
อจฺเจก : (วิ.) ผิดปกติ, รีบร้อน, จำเป็น, บังเอิญเป็น, พิเศษ.
อติเรก : (วิ.) อันหนึ่งเกิน, ยิ่งกว่าหนึ่ง, เหลือเกิน, ยิ่งเกิน, เกินกว่าหนึ่ง, พิเศษ.วิ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ. เอก+อติ กลับบทหน้าไว้หลัง รฺ อาคม. ส. อติเรก.
กาลวิเสส : (ปุ.) กาลวิเศษ, กาลพิเศษ.
กมฺโพช : (ปุ.) กัมโพชะ ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ. กมฺพุปุพฺโพ, โอชฺ ทิตฺติยํ, อ. ส. กมฺโพช.
กสฺมีร : (ปุ.) กัสมีระ ชื่อชนบทพิเศษของ อินเดียโบราณ. กาสฺ ทิตฺติยํ, มีโร. เอา อา เป็น อ เป็นกสฺมิร โดยรัสสะ อี เป็น อิ บ้าง. ส. กศฺมีร.
กาสิ : (ปุ.) กาสี ชื่อชนบทพิเศษ ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ วิ. สมฺปตฺติยา กาสตีติ กาสิ. กาสฺ ทิตฺติยํ, อิ. เวสฯ เป็น กาสี.
กุสินารา : (อิต.) กุสินารา ชื่อนครพิเศษของ อินเดียโบราณ วิ. ยสฺส มาปิตกาเล นิมิตฺต โมโลเกนฺตา พฺราหฺมณา กุสหตฺถนรํ ปสฺสิตฺวา มาเปนฺติ สา กุสินารา.
โกชว : (ปุ.) โกเชาว์ อาสนะพิเศษทั้งกว้างทั้งยาว, ผ้าลาด, ผ้าทำด้วยขนแกะ, ผ้าโกเชาว์, พรม, เบาะ, เปล.
โกสมฺพี : (อิต.) โกสัมพี ชื่อนครพิเศษของ อินเดียโบราณ วิ. ขาทถ ปิวถาติ อาทีหิ ทสหิ สทฺเทหิ กุสนฺติ เอตฺถาติ โกสมฺพี. กุสฺ อวฺหาเณ, วี, นิคฺคหิตาคโม, ฎีกาอภิฯ ลง พ ปัจฺ อี อิต.
คนฺธธาร : (ปุ.) คันธาระ ชื่อชนบทพิเศษของ อินเดียโบราณ วิ. คํ ปฐวึ ธาเรนฺตีติ คนฺธารา. กิตฺติคนฺเธน อรนฺตีติ วา คนฺธารา. เป็นชื่อของสระน้ำด้วย.
คิหิลิงฺค : นป. เพศคฤหัสถ์, ลักษณะพิเศษของคฤหัสถ์
โคณก โคนก : (ปุ.) ผ้าโกเชาว์ใหญ่ชิ้นยาว, อาสนะพิเศษประกอบด้วยขนยาว, ผ้า สักหลาดขนยาว, พรม, กุ สทฺเท, ยุ, สกตฺเถ โก, อุสฺโสตฺตํ. ฎีกาอภิฯ ทีเฆน โลเมน ยุตฺโต อาสนปฺปเภโท โคนโก นาม.
จมฺปา : (อิต.) จัมปา ชื่อนครพิเศษของอินเดีย โบราณ วิ. จมนฺติ เอตฺถาติ จมฺปา จมุ อทเน, โป.
โจปนวาจา : (อิต.) คำพูดอันยังผู้ฟังให้ไหว, โจปนวาจา คือ กิริยาอาการพิเศษที่เป็นไป ในคำพูด ซึ่งทำให้ผู้ฟังรู้ความประสงค์ ของผู้พูด.
ชมฺพุนท ชมฺพูนท : (นปุ.)ชัมพุนทะ ชัมพูนทะ, ชัมพูนท ชมพูนท ชมพูนุท ชามพูนุท ชามพูนทะ, โชมโพนทะ ชื่อทองพิเศษ ๑ ใน ๔ อย่าง, ทอง, ทองคำ, ทองชมพุนุท (ทองที่เกิดแทบต้นหว้าเนื้อบริสุทธิ์). วิ. เทวรุกฺขภุตาย มหาชมฺพุยา ปติฏฺฐตฏฺฐาเน นที ชมฺพุนที, ตสฺสํ ปติเตหิ มหาคชปฺป – มาณานํ กุมฺภปฺปมาณานํ วา ผลานํ พีเชหิ ชาตํ สุวณฺณํ ชมฺพุนทํ ชมฺพูนทํ วา. ส. ชามพูนท.
ชาติวิภงฺค : ป. ความแตกต่างกันแห่งชาติสกุล, ลักษณะพิเศษประจำชาติ
เชตุตฺตร : (นปุ.) เชตุดร ชื่อนครพิเศษ ๑ ใน ๒0 ของอินเดียโบราณ. วิ. เจติยรรฏฺเฐ อุตฺตมตฺตา เชตุตฺตรํ. แปลง จ เป็น ช ม เป็น ร. เวริชยฏฺฐานตฺตา เชตพฺพํ จ ตํ อุตฺตมตฺตา อุตฺตรํ จาติ วา เชตุตฺรํ. เป็น เจตุตฺตร บ้าง.
ตกฺกสิลา : (อิต.) ตักกสิลา ชื่อนครพิเศษของ อินเดียโบราณ. วิ. โย ปุริสกาเรน อูโน โส ตตฺถ คนฺตฺวา ตํ อูนํ ปูเรตีติ ตกฺกสิลา
ถานนฺตร : (นปุ.) ลำดับแห่งตำแหน่ง, ที่อัน พิเศษ, ถานันดร ( ลำดับชั้นบุคคล ลำดับ แห่งยศ บรรดาศักดิ์ หน้าที่ การงาน).
ทีฆโลมก : (ปุ.) อาสนะพิเศษประกอบด้วย ขนยาว, ผ้าโกเชาว์ใหญ่ขนยาว.
ทุสฺสรตน : นป. รัตนะคือผ้า, ผ้าเนื้อดี, ผ้าชนิดพิเศษ
เทวเภท : (ปุ.) เทวดาชุดหนึ่ง, เทวเภท เทวดาพิเศษ.
ธุตงฺค ธูตงฺค : (นปุ.) องค์อันเป็นเครื่องกำจัด ซึ่งธรรมอันเป็นอกุศล, องค์เป็นเครื่องกำ จัดกิเลส, ธุดงค์ ชื่อวัตรปฏิบัติพิเศษของ ภิกษุมี ๑๓ ข้อ.
นยนามย : (ปุ.) โรคอันเกิดในดวงตา, จักษุ โรค, จักษุโรคพิเศษ.
ปฏิวิสิฏฺฐ : ค. เฉพาะอย่าง, ซึ่งเป็นพิเศษ
ปฏิวิเสส : ป. อาการอันพิเศษยิ่งขึ้น, อาการที่แยกแยะให้เห็นเฉพาะแต่ละอย่างๆ (เกี่ยวกับการวินิจฉัยปัญหา)
ปาฏิหาริยปกฺข : ป. วันหยุดงานพิเศษ คือ วัน ๗ ค่ำ, ๙ ค่ำ, ๑๓ ค่ำ, และ ๑ ค่ำ
ปุพฺพกาย : (ปุ.) เบื้องต้นแห่งกาย, เบื้องต้นของกาย. วิ. กายสฺส ปุพพํ ปุริโม ภาโค ปุพฺพกาโย. เป็นตัปปุริสพิเศษ เมื่อเป็นบทปลง กลับบทหน้าไว้หลัง.
พฺยวหาร : (ปุ.) การนำลงพิเศษ, ธรรมเนียม. วิ+อวหาร.
ภีรุ : (อิต.) หญิง, ผู้หญิง, หญิงพิเศษ. วิ. ภย ปกติ ภีรุ.
มคธ : (ปุ.) มคธ ชื่อชนบทพิเศษของอินเดียโบราณ ปัจจุบันเรียกว่า พิหาร วิ. มเคน สทฺธึ ธาวนฺตีติ มคธา. มคปุพฺโพ, ธาวฺ คติสุทฺธิยํ, อ. ลบที่สุดธาตุ. มํเสสุ คิชฺฌนฺตีติ มคธา. มํสปุพฺโพ, คิธฺ อภิกํขายํ, อ. ลบ อํส และ ธฺ.
มโนวิเลข : (ปุ.) ความขูดพิเศษแห่งใจ, ความสงสัย. วิ. มนํ วิเลขติ ทฺวิธากรณวเสนาติ มโนวิเลโข.
มิถิลา : (อิต.) มิถิลา ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ ๑ ใน ๒๑. วิ. มถียตีติ มิถิลา. มถฺ หึสายํ, อิโล, อสฺสิตฺตํ, อิตฺถิยํ อา.
ยาวตติยก : (นปุ.) ยาวตติยกะ เป็นคำเรียกอาบัติ สังฆาพิเศษ ตั้งแต่สิกขาบทที่ ๑๐-๑๓ เพราะต้องอาบัติต่อเมื่อสงฆ์ประกาศห้ามครบ ๓ ครั้งแล้ว.
สมฺพร : (ปุ.) สมพร ชื่ออสูรพิเศษ วิ. สํ ปสตฺโถ วโร ชามาตา ยสฺส โส สมฺพโร.
สสุมารคิร : (นปุ.) สุงสุมารคิระ ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ.
สาเกตุ : (นปุ.) สาเกตุ ชื่อชนบทพิเศษของอินเดียโบราณ, เมืองสาเกต.
สาคล : (นปุ.) สาคละ ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ. วิ. สานํ ธนานํ อุปฺปตติฎฺฐานํ สากโร. ส+อากร ใน วิ. ใช้ อุปฺปตฺติฎฺฐาน แทน. สากดร เอว สาคลํ. แปลง ก เป็น ค ร เป็น ล.
สาวตฺถิ : (อิต.) สาวัตถี ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ วิ. สวตฺถสฺส อิสิโน นิวาส นฎฐานตา สาวตฺถิ. สพฺพธน เมตฺถ อตฺถีติ วา สาวตฺถิ (เมืองที่มีทรัพย์ทั้งปวง). แปลง สพฺพธน เป็น สาว+อตฺถิก ลบ อีก ลง อิ ปัจ.
สินฺธว : (ปุ.) ม้าตัวผู้, ม้าที่มีในสินธูชนบท. วิ. สินฺธุมฺหิ ภโว สินฺธโว. ณ ปัจ. ม้าสินธพนี้แต่ก่อนจัดเป็นม้าพิเศษ.
สิวิ : (ปุ.) สิวิ สิวี ชื่อชนบทพิเศษของอินเดียโบราณ วิ. เสวนฺติ อเนนาติ สิวิ. สิ เสวายํ, วิ. สิวํ กโรนฺตีติ วา สิวิ. สิว+อิ ปัจ.
สีหล สีหฬ : (ปุ.) สีหล สีหฬ ชื่อชนบทพิเศษ ของอินเดีย คือประเทศสีหล ประเทศลังกา ปัจจุบันคือประเทศศรีลังกา. วิ. สีหํ ลนฺติ กณฺหนฺตีติ สีหลา. ปุพฺพปุริสา สีหลา, ตพฺพํเส ชาตา สพฺเพปิ เอตรหิ สีหลา นาม.
องฺกย : (ปุ.) ชื่อกลองพิเศษชนิดหนึ่ง, ตะโพน, กลอง, โทนเล็ก.องฺกฺ คมนลกฺขเณสุ, โณฺย, โยวา.
อธิปฺปาโยส : ป. ความแตกต่าง, ลักษณะพิเศษ, ความหมายพิเศษ
อพฺโภหาริก : ค. พิเศษ, พูดไม่ได้ว่ามีหรือไม่มี, ไม่ควรอ้างเป็นกฏเกณฑ์
อลกอลงฺก : (นปุ.) เครื่องประดับพิเศษ.
อาจริยมุฏฺฐิ : อิต. ความรู้พิเศษของอาจารย์, อาจารย์ที่ปิดบังความรู้