กมฺมปฏิสรณ : (วิ.) มีกรรมเป็นที่พึ่ง, มีกรรม เป็นที่พึ่งอาศัย.
กลลรูป : นป. กลลรูป, รูปที่พึ่งมีขึ้นเมื่อตั้งครรภ์
กุสลกมฺมปติฏฐากรณกาล : (ปุ.) กาลเป็นที่ทำ ซึ่งที่พึ่งคือกรรมอันเป็นกุศล. เป็น วิเสสนปุพ. กัม. มี วิเสสนบุพ. กัม. อวกัม. และ ทุ. ตัป. เป็นท้อง.
คาธ : (ปุ.) ความเป็นที่พึ่ง, ความเป็นที่อาศัย, การนับเข้า, การรวมเข้า, การหยั่งลง, ความหยั่งลง, การแต่งตั้ง, การร้อยกรอง, ฝั่งน้ำ. คาธุ ปติฏฺฐนิสฺสยคนฺเถสุ, อ.
จมูนาถ : ป. นายทหารผู้เป็นที่พึ่งแห่งกองทัพ, นายทัพ, นายพล
ติสรณ : (นปุ.)ที่พึ่งสาม,สรณะสาม,ไตรสรณะ. ไตรสรณะคือ พระพุทธ พระธรรม และ พระสงฆ์ เป็นสรณะที่พึ่งสูงสุดของพุทธ ศาสนิกชน ๆ จะนับถือสิ่งอื่นสูงกว่าหรือ เทียบเท่าพระรัตนตรัยไม่ได้ ถือว่าขาด จากพระรัตนตรัย. ส. ไตรสรณ.
ติสรณคมน : (นปุ.) การถึงซึ่งที่พึ่งสาม, การถึงสรณะสาม, ไตรสรณะคมน์. ส. ไตรสรณคมน.
ทิสานาถ : (ปุ.) เทวดาผู้เป็นที่พึ่งในทิศ, พระอินทร์.
ทีปงฺกร : (วิ.) ผู้ทำซึ่งที่พึ่ง วิ. ทีปํ กโรตีติ ทีปงฺกโร. ทีปปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ. ลง นุ อาคมในท่ามกลาง แล้วแปลงเป็นนิคคหิต แล้วแปลงนิคคหิตเป็น งฺ รูปฯ ๕๔๙.
ธมฺมทีป : ๑. ค. ธรรมประทีป, ผู้มีธรรมเป็นดวงประทีป;
๒. ค. ผู้มีธรรมเป็นที่พึ่ง, มีธรรมเป็นที่พักพิง
ธมฺมสรณ : นป. การถึงธรรมเป็นที่พึ่ง
ธีน : ค. ผู้อาศัย, ผู้พึ่ง
นาถ : (วิ.) เป็นที่พึ่ง, เป็นใหญ่. นาถฺธาตุ อ ปัจ. ส. นาถ
นาถกรณ : นป. การกระทำที่พึ่ง
นาถติ : ก. ป้องกัน, คุ้มครอง, รักษา, เป็นที่พึ่ง
นิปจฺจย : (วิ.) มีบุคคลเป็นแดนอาศัยเป็นไป หามิได้, ไม่มีบุคคลเป็นปัจจัย, ไม่มี บุคคลเป็นที่พึ่ง.
นิราสย : ค. ผู้ไม่มีที่พึ่ง, ผู้ไม่มีที่อาศัย, ไม่มีที่พำนัก
นิสฺสย : ป. ที่พึ่ง, ที่อาศัย, ความประพฤติที่นอนเนื่องอยู่ในสันดาน
ปฏิคาธ : ป. ที่พึ่ง, ที่ยึดเหนี่ยว, หลักยึด
ปฏิสรณ : นป. ที่พึ่ง, ที่พำนัก, ที่ยึดเหนี่ยว, ที่คุ้มภัย
ปติฏฺฐา : อิต. ที่พึ่ง, ที่อาศัย, ที่ยึดเหนี่ยว; ความค้ำจุน; ความช่วยเหลือ; ผู้ช่วยเหลือ
ปติฏฺฐาน : นป. การตั้งมั่น, การดำรงอยู่; ที่พึ่ง, ที่อาศัย
ปมุข : (วิ.) เลิศ, ประเสริฐ, สูงสุด, ก่อน, แรก, แรกเริ่ม, เริ่มแรก, ดั้งเดิม, เป็นที่พึ่ง, เป็นใหญ่, เป็นประธาน, เป็นหัวหน้า, โดย ความเป็นประธาน, เป็นหัวหน้า, เป็น ประธาน, เป็นประมุข. ปกฏฺฐปุพฺโพ, ปธานปุพฺโพ, วา, ปปุพฺโพ. วา, มุ พนฺธเน, โข.
ปรตฺถทฺธ : ค. ผู้อาศัย, ผู้อิง, ผู้พึ่ง
ปรายณ, - ยน : นป. ที่พึ่ง, ที่พำนัก, ที่พักพิง, เครื่องแบ่งเบา, จุดหมายขั้นสุดท้าย, จุดจบ; ในคำสมาสแปลว่า....เป็นที่ไปในเบื้องหน้า, มี....เป็นที่สุด, ตรงต่อ..., เที่ยงต่อ...
ปรายี : ค. ผู้มีที่อยู่อาศัย, ผู้มีที่พึ่ง, ผู้มีผู้อุปถัมภ์
ปสฺสย : ป. ที่อยู่อาศัย, อาศรม, ที่พึ่งพิง, ที่พักพิง
ปุญฺญสฺสย : ป. ธรรมเครื่องอาศัยคือบุญ, ธรรมเป็นเครื่องพึ่งพิงคือบุญ
ภูวนาถ : (ปุ.) คนเป็นที่พึ่งของแผ่นดิน, คนเป็นที่พึ่งของข้าแผ่นดิน, พระเจ้าแผ่นดิน.
มูล : (วิ.) เป็นที่ตั้ง, เป็นที่พึ่ง, เป็นที่อาศัย, เป็นต้น, เป็นเดิม, ใกล้, เป็นทุน, เป็นมูล, เป็นเหตุ, ใหญ่, มูลฺ ปติฏฺฐายํ, อ.
โลกนายก, - นาถ : ป. ผู้เป็นใหญ่ในโลก, ผู้นำของโลก, ผู้เป็นที่พึ่งของโลก
สรณคมน : (นปุ.) การถึงซึ่งที่พึ่ง, การถึงสรณะ, การถึงพระรัตนตรัยว่าเป็นที่พึ่ง, การถึงพระรัตนตรัยว่าเป็นสรณะ, สรณคมน์ คือการรับเอาพระรัตนตรัยได้แก่พระพุทธ พระธรรมและพระสงฆ์ว่าเป็นที่พึ่งที่ระลึกเป็นการปฏิญญาณตนว่าเป็นอุบาสก อุบาสิกานับถือพระพุทธศาสนา.
สาร : (วิ.) สูงสุด, อุดม, ยิ่ง, แข็ง, สำคัญ, เป็นหลักฐาน, ที่พึ่ง. สรฺ คติหึสาจินฺตาสุ, โณ.
สุรนาถ : (ปุ.) เทวดาผู้เป็นที่พึ่งของเทวดา, พระอินทร์. วิ. สุรานํ นาโถ สุรนาโถ.
อตฺตทีป : ค. พึ่งตนเอง, เชื่อตนเอง
อตฺตาณ : ค. ซึ่งปราศจากที่ต้านทาน, ไม่มีที่พึ่ง
อตฺตาธีน : (วิ.) พึ่งตนเองได้, เป็นไท.
อธินอธีน : (วิ.) ผู้อาศัย, ผู้พึ่ง, ผู้พี่งพิง, ผู้ว่าง่ายผู้สอนง่าย, เป็นบ่าว, เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เนื่องด้วย.อธิคโตอิโนปภูเยนาติอธีโน.อธีน
อธิน อธีน : (วิ.) ผู้อาศัย, ผู้พึ่ง, ผู้พี่งพิง, ผู้ว่าง่าย ผู้สอนง่าย, เป็นบ่าว, เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เนื่องด้วย. อธิคโต อิโน ปภูเยนาติ อธีโน. อธีน
อธีน : ค. ผู้อาศัย, ผู้พึ่งพิง
อนาถ : (วิ.) ผู้ไม่มีที่พึ่ง, ผู้หาที่พึ่งไม่ได้, ผู้ไร้ที่พึ่ง, ผู้ไม่มีอิสระ.ไทย อนาถ (อะหนาด)ใช้ในความหมายว่า สงสาร สังเวช สลดใจ.อนาถาใช้ในความหมายว่ากำพร้ายากจนเข็ญใจ.ส.อนาถ.
อปฺปติฏฺฐ : ค. ๑. ไม่ตั้งอยู่แล้ว;
๒. ไม่มีที่พึ่ง
อปรายี : ค. ซึ่งไม่มีที่พึ่งพิง, ไม่มีอุปถัมภ์
อเลณ : ค. ไม่มีที่พึ่งอาศัย
อวสฺสย : (ปุ.?)ที่พึ่ง, ที่อาศัย, ที่พึ่งอาศัย.
อสรณ : ค. ไม่มีที่พึ่ง, ไม่มีที่พำนัก, ไม่มีเครื่องระลึก
อายตฺต : (วิ.) ผู้พึ่ง, ผู้พึ่งพิง, ผู้อาศัย, ผู้อยู่ในอำนาจ.อาปุพฺโพ, ยตฺปยตเน, โต.
อายตฺตตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้พึ่งพิง, ฯลฯ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ขยัน, ฯลฯ.
อุปชีวิก, - ชีวี : ค. ผู้อาศัยคนอื่นเป็นอยู่, ผู้พึ่งคนอื่น
คุมฺพ : (ปุ.) กอ, กอไม้, พง, พุ่ม, พุ่มไม้, ซุ้ม ไม้, สุมทุม (ซุ้มไม้ที่ปกคลุมด้วยต้นไม้ และเถาวัลย์) หมู่, พวก, ฝูง, ประชุม, กอง, คณะ, กลุ่มก้อน, กองทหาร, ขบวนทัพ, เสา. คุปฺ รกฺขเณ, โพ, ปสฺส โม. คุมฺพฺ คุมฺพเน วา, อ.