จริต : (นปุ.) การเที่ยวไป (ของจิต) ความประ พฤติ, เรื่องราว, นิสัย, พื้น, พื้นเพ, พื้นเพ ของจิต, จริต, (พื้นเพของจิต ของแต่ละบุค คล ซึ่งจะหนักไปในทางใดทางหนึ่งในหก ทาง ดูจริต ๖ ในหลักธรรมะ) จรฺ จรเณ, โต, อิอาคโม.
ตล : (นปุ.) ชั้น, ชั้นล่าง,พื้น, ฝ่ามือ. วิ. ตลยติ เอตฺถ วตฺถุชาตนฺติ ตลํ. ตลฺ ปติฏฐายํ, อ.
ปาทก : ๑. นป. ฐาน, พื้น;
๒. ค. มีฐาน, มีเท้า, มีพื้น
ปิฏฺฐ : นป. หลัง, ด้านหลัง; พื้น; แป้ง, ผง
ภูม ภูมก : (ปุ.) ชั้น, ขอบเขต, พื้น, พื้นดิน, สถานที่.
ภูมิ : (อิต.) แผ่นดิน, ที่ดิน, พื้น, พื้นดิน, พื้นเพ, ปัญญา, ภาคพื้น, ขอบเขต, แดน, ชั้น, ลำดับ. วิ. ภวนฺติ อสฺสํ ภูตานีติ ภูมิ. ที่เกิด วิ. ภวนฺติ เอตฺถาติ ภูมิ. ภู สตฺตายํ, มิ.
กรตล : (นปุ.) พื้นแห่งมือ. ฝ่ามือ. ส. กรตล.
กวจ : (วิ.) ด่าง (เป็นจุดผิดจากสีพื้นเดิม).
กเสรุ : (ปุ.) กระจับ ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง ขึ้น ลอยอยู่ในน้ำ มีฝักเป็นสองเขาคล้ายศรีษะ ควาย เมื่อแก่มีสีดำ ตกอยู่ที่พื้นดิน เนื้อ ข้างในขาว มีรสมัน, วิ. เก สยตีติ กเสรุ. กปุพฺโพ, สี สเย, รุ.
กูปตล : นป. พื้นหลุม
คิริธาตุ : ป. พื้นดินสีแดง, หินทราย
โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
จิมิลิกา : อิต. ผ้าปูพื้น, ผ้ารองพื้น
ชคติปฺปเทส : ป. ประเทศแห่งแผ่นดิน, ถิ่นที่บนพื้นโลก, ภูมิประเทศ
ชคตี : (อิต.) แผ่นดิน. ภาคพื้น. วิ. คจฺฉนฺติ ยสฺสํ สา ชคตี. คมฺ ธาตุ อนฺตปัจ. เท๎วภาวะ ค แปลงเป็น ช ลบ นฺ และ มฺ อี อิต. อภิฯ และ ฎีกาอภิฯ เป็น ชคติ ชคฺคติบ้าง.
ตลภาค : (ปุ.) ส่วนแห่งพื้น, ภาคพื้น, พื้นราบ.
ตลลญฺจน : (นปุ.) รอยแห่งพื้น, บาทฐาน.
ตาวตึส : (ปุ.) ดาวดึงส์ ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๒ ใน ๖ ชั้น, พิภพดาวดึงส์, ตรัยตรึงส์, ตรึงส์-ตรัย. วิ. เตตฺตึส ชนา นิพฺพตตนฺติ เอตฺถาติเตตฺตึโส. เตตฺตึโส เอว นิรุตฺตินเยน ตา วตึโส. แปลง เอ เป็น อย ทีฆะ อ ที่ ต เป็นอา แปลง ย เป็น ว หรือ แปลง เต เป็น ตาวลบ ตฺ สังโยค. ตาว ปฐม ตึสติ ปาตุภวตีติตาวตึโส. พื้นแผ่นดินใด เกิดปรากฏขึ้นในโลกเป็นครั้งแรกก่อน ( พื้นแผ่นดินอื่นๆ )พื้นแผ่นดินนั้น ชื่อดาวดึงส์.
ติโยชนภูมิ : (อิต.) ภาคพื้นมีโยชน์สาม.
ถณฺฑิลสายิกา, - เสยฺยา : อิต. การนอนบนพื้นดิน
ธราดล : (นปุ.) พื้นแห่งแผ่นดิน, พื้นแผ่นดิน.
นภตล : (นปุ.) พื้นแห่งฟ้า. พื้นแห่งท้องฟ้า, นภดล. ส. นภสฺตล.
นวตล : (นปุ.) พื้นเก้า, พื้นเก้าชั้น, นพดล.
ปญฺจปติฏฺฐิต : นป. เบญจางคประดิษฐ์, การหมอบลงกราบกับพื้นด้วยส่วนทั้งห้า (หน้าผาก ๑, มือ ๒, เข่า ๒)
ปฐวีมณฺฑล : นป. มณฑลแห่งดิน, วงกลมแห่งพื้นดิน, พื้นดิน, ที่ดิน
ปฐวีเลขา : อิต. รอยขีดเขียนบนพื้นดิน
ปทรสญฺจิต : ค. ที่เขาปูไว้ด้วยแผ่นกระดาน, ซึ่งปูพื้นไว้แล้ว
ปทรสิลา : อิต. ศิลาเรียบ, แผ่นหินที่ใช้ปูพื้นสำหรับเดิน
ปทสิลา : อิต. หินที่ใช้วางไว้บนพื้นดินสำหรับก้าวเดิน, หินปูพื้น
ปปฏิกา ปปฺปฏิกา : (อิต.) กระบิ คือ แท่ง หรือแผ่นหรือชิ้น ที่บิหรือแยกจากส่วน ใหญ่, สะเก็ด คือชิ้นย่อยของไม้หรือหินที่ แยกจากส่วนใหญ่, กะเทาะ คือสิ่งของหรือ เปลือกไม้ที่หลุดจากพื้นเดิม หรือจากต้น. ป+ปฏ+อิก ปัจ. สกัด อาอิต.
ปาทมูล : นป. พื้นเท้า, ฝ่าเท้า
ปาสาณตล : นป. แผ่นหิน, พื้นหิน ; ที่ราบสูงตามธรรมชาติ
ปาสาทตล : นป. พื้นปราสาท
พลชา : อิต. หญิงงาม; ภาคพื้น, แผ่นดิน
ภุมฺมฏฺฐ : (วิ.) ผู้ยืนอยู่บนแผ่นดิน, ผู้ยืนอยู่บนพื้นดิน.
ภุมฺมฏฺฐ : ค. ผู้อยู่บนพื้นดิน
ภุมฺมตฺถรณ : นป. การปูบนพื้นดิน, เสื่อ, พรม
ภุมฺมา : (อิต.) เทวดาผู้เกิดบนภาคพื้น วิ. ภูมิยํ ชาตาติ ภุมฺมา.
ภูมิคต : ค. ตั้งอยู่บนพื้นดิน
ภูมิตล : นป. พื้นดิน
ภูมิปฺปเทส : ป. ภูมิภาค, ส่วนแห่งภาคพื้น
มหิตล : (นปุ.) พื้นแห่งแผ่นดิน, พื้นดิน, พื้นโลก, มหิดล.
มาฬ : (ปุ.) เรือนยอดเดียว, โรง คือสิ่งที่ปลูกไว้สำหรับอยู่ หรือไว้ของ ไม่มีพื้นไม้. มา มาเน, โฬ.
มูลิก : ค. ซึ่งเป็นพื้นฐาน
เมทนีตล : (นปุ.) พื้นแห่งแผ่นดิน, พื้นแผ่นดิน.
เมทนี เมทินี : (อิต.) ดิน, แผ่นดิน, พื้นแผ่นดิน. มิทฺ สิเนหเน, ยุ. อี, อินี อิต.
ยาคู : (ปุ.) ยาคู ชื่อตำแหน่งสมณศักดิ์พื้นบ้านของภาคอีสาน ชาวอีสานมีประเพณีแต่งตั้งภิกษุที่เป็นกำลังของศาสนาด้วยการสรงน้ำ สรงครั้งแรกได้รับสมญาว่า ยาซา สรงครั้งที่สองได้รับสมญาว่า ยาคู. ยชฺ เทวปูชายํ, อู. แปลง ช เป็น ค ทีฆะต้นธาตุ.
ยุทฺธภูมิ : (อิต.) แผ่นดินแห่งการต่อสู้กัน, ฯลฯ, ภาคพื้นแห่งการต่อสู้, ฯลฯ, สนามรบ.
สุงฺก : (ปุ. นปุ.) ภาษี, อากร คือค่าธรรมเนียมที่รัฐบาลเรียกเก็บจากสิ่งที่เกิดจากธรรมชาติหรือสิ่งที่ทำขึ้นเพื่อการค้า, ส่วย คือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงตามวีเรียกเก็บภาษีอากรสมัยโบราณ หรือเงินช่วยเหลือราชการที่กำหนดเรียกเก็บจากราษฎร สมัยก่อนชายที่ไม่ได้เป็นทหารจะต้องเสียส่วยให้รัฐบาลปีละ ๖ บาท. วิ. สํกติ เยน ตํ สุงฺกํ. สํก คมเน, อ.
หตฺถตล : (นปุ.) พื้นแห่งมือ, ฝ่าแห่งมือ, ฝ่ามือ.