Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พ้น , then พน, พ้น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พ้น, 119 found, display 1-50
  1. นิ : (อัพ. อุปสรรค) เข้า,ลง,ออก,ไม่เหลือ,ไม่มี,ทิ้ง,วาง,บน,ยิ่ง,พ้น,ประชุม,รวม,กอง,อยู่,อ้าง,เปรียบ,ใส,ต่ำ,ต่ำช้า,เลว,ติเตียน,ฉลาด,หลักแหลม.ส.นิรฺ.
  2. ปมุจฺจติ : ก. หลุด, พ้น, หลุดพ้น
  3. ปริโมเจติ : ก. ปล่อย, พ้น, ปลดเปลื้อง
  4. อป : (อัพ. อุปสรรค)ปราศ, ปราศจาก, ไปจาก, หนี, หลีก, ไกล, พ้น, ไร้, กลับ, ลง, นินทา.ส.อป.
  5. อุตฺตร : (วิ.) ยิ่ง, กว่า, ประเสริฐ, สูงสุด (อุตตโร อุตฺตมสทิโส), แข้น (พ้นจาก แห้งจวนแข็ง หรือหมายถึงแข็งก็ได้), กล้าแข็ง, กวน, คน (กวนของให้กระจาย หรือให้เข้ากัน), คม (ไม่ทื่อ), ต่อไป, ซ้าย, เหนือ, หลัง, บน, เบื้องบน, ข้างบน, พ้น, อื่น.
  6. ปนิมุจฺจติ : ก. พ้น
  7. วิมุจฺจติ : ก. พ้น
  8. คตโยพฺพน : ค. ผู้มีวัยหนุ่มสาวผ่านพ้นไปแล้ว, ผู้พ้นวัยหนุ่มสาวไปแล้ว
  9. กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ : (อิต.) ความหมดจดอัน ก้าวล่วงซึ่งความสงสัย, ความหมดจดแห่ง ญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย.
  10. กรุณา : (อิต.) ความหวั่นใจ, ความหวั่นใจใน เมื่อผู้อื่นมีทุกข์, ความสงสาร, ความสงสาร คิดจะช่วยให้เขาพ้นทุกข์, ความเอ็นดู, ความปราณี, ความอนุเคราะห์, ความกรุณา, กรุณา. วิ. ปรทุกฺเข สติ สาธูนํ หทยกมฺปนํ กโรตีติ กรุณา. กรฺ กรเณ, อุโณ, กุโน วา, กโลโป, นสฺส ณตฺตํ. กํ สุขํ รุนฺธตีติ วา กรุณา. กปุพฺโพ, รุธิ อาวร เณ, อุโณ, ธิโลโป. กิรตีติ วา กรุณา. กิรฺ วิกฺขิปเน, อุโณ. กิณาตีติ วา กรุณา. กิ หึสายํ, รุโณ. กิรียตีติ วา กรุณา. กิรฺปสาร เณ, ยุ. กมฺปนํ กโรตีติ วา กรุณา. กรฺ กรเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อณ รฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ อาอิต. ส. กรูณ.
  11. คนฺถปฺปโมจน : นป. การหลุดพ้นจากเครื่องร้อยรัด
  12. โคตฺรภูญาณ : นป. ความรู้ที่กำลังพ้นเขตของปุถุชนและกำลังย่างขึ้นสู่เขตพระอริยเจ้า
  13. จตุราสีติโยชนสหสฺสคมฺภีร : (วิ.) อันลึกสิ้นพ้น แห่งโยชน์แปดสิบสี่, มีพันแห่งโยชน์แปด สิบสี่เป็นส่วนลึก, ลึกแปดหมื่นสี่พันโยชน์. เป็น ฉ. ตุล มี ฉ.ตัป และ ส.ทิคู. เป็น ท้อง มีลึกมีพันแห่งโยชน์แปดสิบสี่เป็น ประมาณ ตั้ง วิ. เพิ่ม ฉ.ตุล ต่อจาก ส.ทิคุ อีก ๑ สมาส.
  14. จาวนา : อิต. การทำให้เคลื่อน, การทำให้พ้นไป, การทำให้หลุดไป
  15. จาเวติ : ก. ทำให้เลื่อน, ทำให้พ้น, ทำให้หลุดไป, พราก, ไล่
  16. เจโตวิมุตฺติ : (อิต.) ความหลุดพ้นด้วยอำนาจ แห่งใจ. ความหลุดพ้นที่มีสมาธิเป็น ปทัฏฐาน คือได้บรรลุฌานมาก่อนแล้วจึง บำเพ็ญวิปัสสนาต่อจนละกิเลสาสวะได้ เรียกว่า เจโตวิมุติ. ลำพังฌาน ไม่สามารถ ละกิเลสาสวะได้เด็ดขาด เป็นแต่สะกดไว้ อย่าเข้าใจผิด.
  17. เฉทนกปาจิตฺติยา : (อิต.) เฉทนกปาจิตตีย์ ชื่ออาบัติปาจิตตีย์ ที่ต้องให้ตัดของที่ทำ เกินกำหนด (ประมาณ) ออกเสียก่อนจึง แสดงอาบัติตก คือจึงจะพ้นจากอาบัติ.
  18. ฌานวิโมกฺข : ป. ความหลุดพ้นเพราะอาศัยฌาน
  19. ญาณวิโมกฺข : ป. ความหลุดพ้นเพราะอาศัยญาณ
  20. ตทงฺควิกฺขมฺภนสมุจฺเฉทปฏิปสฺสทฺธินิสฺสร – ณวิมุตฺติ : (อิต.) ความหลุดพ้นด้วยสามารถ แห่งองค์นั้นๆ และความหลุดพ้นด้วย สามารถแห่งอันข่ม และหลุดพ้นด้วย สามารถแห่งอันสงบเฉพาะและความหลุดพ้นด้วยสามารถแห่งอันออกไป.
  21. ตทงฺควิมุตฺติ : (อิต.) ความหลุดพ้นด้วยองค์ นั้น ๆ, ฯลฯ คำแปลและ วิ. เลียนคำ ตทงฺคปหาน.
  22. ตริตตฺต : นป. ความเป็นแห่งบุคคลผู้ข้ามหรือผ่านแล้ว, การข้ามพ้นแล้ว
  23. ติณฺณ : กิต. ข้ามแล้ว, พ้นแล้ว, ผู้ถึงที่สุดทุกข์, ผู้บรรลุนิพพาน
  24. ติณฺณกถงฺกถ, ติณฺณวิจิกิจฺฉ : ค. ผู้มีความสงสัยอันข้ามพ้นแล้ว, ผู้ข้ามความสงสัยแล้ว, ผู้หมดความสงสัยแล้ว
  25. ติรจฺฉานวิชฺชา : (อิต.) วิชาขวาง, วิชาขวาง ทางไปนิพพาน, ติรัจฉานวิชา คือความรู้ที่ไร้สาระ ความรู้ที่ไม่เป็นประโยชน์ วิชาที่ไม่ทำตนให้พ้นจากทุกข์ซึ่งพระพุทธเจ้า ทรงห้ามมิให้ภิกษุ - สามเณรศึกษา เช่น วิชาทำเสน่ห์ยาแฝดเป็นต้น.
  26. ทพฺพ. : (ปุ.) บุคคลผู้ควรหลุดพ้น, บุคคลผู้ควรบรรลุมรรคผล. บัณฑิต. ทุ วุฒิยํ, อพฺโพ.
  27. เทสนาคามินี : (อิต.) เทสนาคามินี ชื่ออาบัติ, อาบัติเป็นเทสนาคามินี คืออาบัติที่ภิกษุ ต้องเข้าแล้ว จะพ้นจากอาบัตินั้นได้โดย การแสดง (ปลงอาบัติ) ได้แก่อาบัติ ถุลสัจจัย ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนียะ ทุกกฎ และทุพภาสิต.
  28. นวโลกุตฺตร : (นปุ.) ธรรมเหนือโลกเก้า, ธรรมอันยังผู้บรรลุให้พ้นวิสัยของโลกเก้า อย่าง. วิ. นว โลกุตตรา นวโลกุตฺครํ.
  29. นิตฺตาเรติ : ก. ให้ข้าม, ให้พ้น, ให้ก้าวล่วง, ให้ผ่านไป
  30. นิตฺติณฺณ : ค. ซึ่งข้ามได้แล้ว, อันผ่านพ้นไปแล้ว
  31. นิพฺพุยฺหติ : ก. อัน...นำออก, อันช่วยให้พ้นภัย
  32. นิโมกฺข : ป. ความหลุดพ้น, ความหมดกิเลส, อรหัต, นิพพาน
  33. นิวารณ : (นปุ.) การปิด, การปิดบัง, การเปิด บังให้พ้นภัย, การเกียดกัน, การป้องกัน, การป้องกันให้พ้นภัย, การพิทักษ์รักษา, ความปิด. ฯลฯ. นิปุพฺโพ, วรฺ อา วรเณ, ยุ. ส. นิวารณ การขัดขวาง, การต่อต้าน.
  34. ปญฺญาวิมุตฺติ : อิต. ความหลุดพ้นเพราะปัญญา
  35. ปฏินิสฺสรติ : ก. ออกไป, พ้นไป, หลุดพ้น
  36. ปนฺนภาร : ค. ผู้มีภาระอันปลงลงแล้ว, ผู้ปลงภาระลงแล้ว, ผู้หมดภาระ, ผู้เสร็จกิจ, ผู้หลุดพ้นแล้ว
  37. ปพฺพชา : (อิต.) การออก, การออกไป ( จาก เรือน คือบวช ), การบวช, การออกบวช. ปปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา. การค้นหา การแสวงหา ( ความพ้นทุกข์ ) . วชฺ มคฺคเน.
  38. ปมุกฺก : (ปุ.) ความพ้น, ความหลุดพ้น, ความปลดเปลื้อง. ปปุพฺโพ, มุจฺ วิโมกฺเข, โก. แปลง จฺ เป็น กฺ.
  39. ปมุญฺจน : (นปุ.) ความหลุดพ้น, ความปลดเปลื้อง. ปปุพฺโพ, มุจฺ โมจเน, ยุ, นิคฺคหิตาคโม.
  40. ปมุตฺต : ค. ผู้ถูกปลดปล่อย, ผู้ถูกเหวี่ยง, ผู้ถูกสลัดไปแล้ว; ผู้หลุดพ้น, ผู้เป็นอิสระ
  41. ปมุตฺติ : อิต. การปลดปล่อย, ความหลุดพ้น, ความเป็นอิสระ
  42. ปมุตฺย : นป. ความเป็นผู้หลุดพ้น
  43. ปโมกฺข : ป. การเปลื้อง, การปลดปล่อย, การเปล่ง, การหลั่งไหล; ความหลุดพ้น
  44. ปโมจน : (นปุ.) การหลุด, การพ้น, การปลด, การเปลื้อง, การปล่อย, การแก้, การปลดเปลื้อง, การปลดปล่อย, ปปุพฺโพ, มุจฺ วิโมกฺเข, ยุ.
  45. ปร : อ. เบื้องหน้า, ถัดไป, ต่อจาก, พ้นไป, ในฝ่ายอื่น
  46. ปรินิพฺพายี : ค. ผู้ดับ, ผู้ประสพความหลุดพ้น
  47. ปริมุจฺจน : นป. การหลุดพ้น, การพ้น
  48. ปริมุตฺต : กิต. พ้นแล้ว, หลุดพ้นแล้ว
  49. ปริมุตฺติ : อิต. ความพ้น, ความปลดปล่อย
  50. ปโรกฺข : ค. พ้นสายตา, เกินวิสัยของตา
  51. [1-50] | 51-100 | 101-119

(0.0214 sec)