กมฺมพนฺธุ : (วิ.) มีกรรมเป็นพวกพ้อง, มีกรรม เป็นเผ่าพันธุ์.
ญาณพนฺธุ : ป. พวกพ้องญาณ
ทฺวิพนฺธุ : ค. ผู้มีพวกพ้องสอง, ผู้มีเพื่อนสองคน
ปฏิพนฺธุ : ป. ความเกี่ยวข้อง, ความพัวพัน; พวกพ้อง, ญาติ
พนฺธุ : (ปุ.) พวกพ้อง, พงศ์, พงศ์พันธุ์, ญาติ, ญาติพี่น้อง, วงศ์, วงศ์วาน. วิ. พนฺธตีติ พนฺธุ. พนฺธียติ สิเนหภาเวนาติ วา พนฺธุ. พนฺธฺ พนฺธเน, อุ, ณุ วา. อตฺตนิ ปรํ พนฺธตีติ วา พนฺธุ. อยํ อมุหากํ วํโสติ สมฺพนฺธิตพฺพฏฺเฐน เปมพนฺธเนน พนฺธตีติ วา พนฺธุ.
พฺรหฺมพนฺธุ : (ปุ.) ชนผู้เป็นพวกพ้องแห่งพรหม, พราหมณ์.
เมธค : (ปุ.) ภาวะอันย่ำยี นิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ธรรมชาติอันย่ำยีนิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ความทุ่มเถียง, ความทะเลาะ, ความวิวาท, ความผิดพ้อง, ความร้าวฉาน, ความร้าวราน, ความมั่นหมาย, ความหมายมั่น, ความอาฆาต, ความอาฆาตมาดร้าย, กลหธรรมอันไปจากเมธา. เมธ+คมฺ ธาตุ กวฺ ปัจ.
เมธคา : (อิต.) ภาวะอันย่ำยี นิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ธรรมชาติอันย่ำยีนิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ความทุ่มเถียง, ความทะเลาะ, ความวิวาท, ความผิดพ้อง, ความร้าวฉาน, ความร้าวราน, ความมั่นหมาย, ความหมายมั่น, ความอาฆาต, ความอาฆาตมาดร้าย, กลหธรรมอันไปจากเมธา. เมธ+คมฺ ธาตุ กวฺ ปัจ.
วิตฺถมฺเภติ : ก. สูบควัน; กระจาย, ขยายตัว, พอง
สูน : ๑. ค. บวม, พอง;
๒. ป. สุนัข
อุจฺฉูน : ค. บวม, พอง, อ้วนฉุ
อุปฺปกฺก : ค. บวมขึ้น, โน, โหนก, พอง
อุพฺพตฺตติ : ก. ขึ้น, พอง, บวม
ขฏิก : (ปุ.) หญ้า, หญ้าหอม, แฝกหอม, กระพุ่มมือ, ดินสอพอง, ช่องหู. ส.ขฏิก.
ขฏี ขฏินี : (อิต.) ชอล์ค, ดินสอพอง. ส. ขฏี.
ขฑิกา : (อิต.) ชอล์ค, ดินสอพอง. ส. ขฑิกา.
เคริก : (นปุ.) ดินสอพอง. เป็น อิต. ก็มี.
ชฐรามย : (ปุ.) โรคท้องมาน ชื่อโรคที่ทำให้ ท้องพองโต มีหลายชนิด ชฐ + อามย รฺ อาคม.
ธาตุปล : (นปุ.) ดินสอพอง.
นิวาต : (วิ.) มีลมออกแล้ว, ไม่จองหอง, ไม่ พองตัว, ไม่เย่อหยิ่ง สงบ, เสงี่ยม, สงบเสงี่ยม, เจียมตัว, สุภาพ, เรียบร้อย, สุภาพเรียบร้อย, อ่อนโยน, ละมุนละม่อม. ส. นิวาต.
ปุลฺล : (วิ.) พอง, ป่อง. ปุลฺ มหตฺเต, โล.
วิตฺถมฺภนฺ : นป. การสูบควัน, การกระจาย, การขยายตัว, การพอง
หตฺถินข : (ปุ.) ปราสาทตั้งอยู่บนกระพองช้าง กระพอง คือ ส่วนที่นูนเป็นปุ่มสองข้างที่ศรีษะช้าง กะพอง ตระพอง ตะพอง ก็ว่า. วิ. หตฺถิกุมฺภมฺหิ ปติฎฐโต นโข หตฺถินโข. ปาสาโท เอว นโข.
อุณฺณติ : (อิต.) ความพองจิต, ความถือตัว, ความไว้ตัว, ความจองหอง, ความไว้ยศ, การเทิดตน, การไว้ตน, การยกตน. อุปุพฺโพ, นมุ นมเน, ติ. ดู อุณฺณต.
อุณฺณม : ป. ความฟูขึ้น, ความพองตัว, ความหยิ่ง
อุณฺณมติ : ก. ฟูขึ้น, พองขึ้น, ยกตน, หยิ่ง
อุณฺณาม : (ปุ.) ความพองจิต, ฯลฯ. ณ ปัจ.
อุทฺธุมาต, - ตก : ค. พอง, บวม, ขึ้นอืด
อุทฺธุมายติ : ก. พอง, บวมขึ้น
อุทฺธุมายน : นป. การพอง, การบวม
อุนฺนติ : (อิต.) ความพองของจิต, ความไว้ตัว, ความจองหอง, ความไว้ยศ, ความยกตน. วิ. อุนฺนมนํ อุนฺนติ. ติ ปัจ. ส. อุนฺนติ การยก, ความรุ่งเรือง, ความเจริญขึ้น.
อุพฺพตฺเตติ : ก. ให้พองขึ้น, ให้บวม ; ฉีกออก; เดินทางผิด