พทรฏฺฐิ : นป. เม็ดพุทรา
พทรปณฺฑุ : นป. ผลพุทรา (สด) มีสีเหลืองอ่อน
พทรมิสฺส : ค. ผสมด้วยผลพุทรา
พทรยูส : ป. น้ำคั้นผลพุทรา
พทรา : อิต. ฝ้าย, พุทรา
พทรา พทรี : (อิต.) ฝ้าย, พุทรา, ต้นพุทรา, กระเบา. พทฺ เถริเย, อโร. อา อี อิต.
พทรี : อิต. ต้นพุทรา, กะเบา
พทาลตา : อิต. เครือดิน (ไม้เถาชนิดหนึ่งมีสัณฐานคล้ายผักบุ้งหรือแพงพวย)
พยาปน : (นปุ.) ความซ่านไป, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
พยาปาร : (ปุ.) ความขวนขวาย. วิ อา ปุพฺโพ, ปรฺ คติยํ, โณ.
พหินกฺขมน : นป. การออกไปภายนอก
พหินคร : นป. นอกเมือง
กณฺฏกคุมฺพ : ป. กอหนาม, พุ่มหนาม
กลมฺพ : นป. กลมฺพก ป. ผักบุ้ง, ผักทอดยอด
คุมฺพ : (ปุ.) กอ, กอไม้, พง, พุ่ม, พุ่มไม้, ซุ้ม ไม้, สุมทุม (ซุ้มไม้ที่ปกคลุมด้วยต้นไม้ และเถาวัลย์) หมู่, พวก, ฝูง, ประชุม, กอง, คณะ, กลุ่มก้อน, กองทหาร, ขบวนทัพ, เสา. คุปฺ รกฺขเณ, โพ, ปสฺส โม. คุมฺพฺ คุมฺพเน วา, อ.
ชมฺพุ, - พู : อิต. ไม้ชมพู, ไม้หว้า
ชมฺพุ (พู) ทีป : ป. ชมพูทวีปคือประเทศอินเดีย
ชมฺพุ (พู) นท : นป. ทองชมพูนุท, ทองเนื้อดี
ชมฺพุ (พู) ปกฺก : นป. ผลชมพูสุก, ผลหว้าสุก
ชมฺพุ (พู) เปสี : ป. เปลือกผลหว้า
ตมฺพ ตามฺพ : (นปุ.) ทองแดง, ดัมพ์, ดามพ์.
ตามฺพ : (วิ.) แดง
ทพฺภปุปฺผ, - พปุปฺผ : นป. ดอกหญ้าคา
ทามฺพ : (ปุ.) ทับทิม, ต้นทับทิม. ดู. ทาฬิม.
ทิพฺพ : (วิ.) อันเป็นทิพย์, เลิศ. ทิวุ ชุติยํ, โย. ลบ อุ ที่ วุ รวมเป็น ทิวฺย แปลง วฺย เป็น พฺพ. ส. ทิวฺย.
ทิพฺพจกฺขุ : (ปุ.) ชนผู้มีตาทิพย์ (จะดูอะไรก็ เห็นได้หมด แม้จะมีวัตถุกั้น).
ทิพฺพจกฺขุก : ค. ผู้มีทิพยจักษุ, มีตาทิพย์
ทิพฺพติ : ก. เล่น, บันเทิง, รื่นเริง
ทิพฺพภาว : ป. ภาวะที่เป็นทิพย์, ความเป็นของทิพย์
ทิพฺพภูสา : (อิต.) ผ้าอันเป็นทิพย์, ผ้าทิพ, ผ้า ทิพย์, ผ้าทพ ผ้าทิพย์ ชื่อผ้าที่ห้อยตรง หน้าฐานพระพุทธรูป ทำเป็นลายผ้า เมื่อปั้นหุ่นฐานพระพุทธรูป เมื่อเทวัตถุอะไรลงไปตามที่ต้องการก็สำเร็จเป็นผ้าทิพย์พร้อมกับฐานนั้น. อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของพระราชอาสน์พนักพลับพลา.
ทิพฺพโยค : ป. เครื่องประกอบอันเป็นทิพย์, เครื่องผูกอันเป็นทิพย์
ทิพฺพวิหาร : ป. ธรรมเครื่องอยู่อันเป็นทิพย์, ภาวะจิตที่ยิ่ง
ทิพฺพวิหาราทิ : (วิ.) (การอยู่) มีการอยู่ของเทวดาเป็นต้น, (ธรรมเป็นเครื่องอยู่) มี การอยู่อันเป็นทิพย์เป็นต้น.
ทิพฺพสมฺปตฺติ : อิต. ทิพยสมบัติ, สมบัติอันเป็นทิพย์, สมบัติของเทวดา, ความสุขในสวรรค์
ทิพฺพโสต : (ปุ. นปุ.) หูทิพ,หูทิพย์(ฟังอะไรได้ยินหมดแม้อยู่ไกล).
นิคฺคุมฺพ : ค. ไม่มีพุ่มไม้, ปราศจากพุ่มไม้, โล่งเตียน
ปคุมฺพ : ป. พุ่มไม้, กอไม้
ปุถุคุมฺพ : ป. ผู้ชำนาญในศิลปะหลายอย่าง
พลคุมฺพ : ป. แถวทหาร
ลาปุ, - พุ : อิต. น้ำเต้า
ว : อ. เทียว, แล
วนคุมฺพ : ป. พุ่มไม้
กพฺพ : (นปุ.) กาพย์ ชื่อคำของกวี กลอน โคลง ฉันท์เป็นต้น. ไทยใช้หมายถึงคำประพันธ์ ชนิดหนึ่ง คล้ายฉันท์ แต่ไม่บังคับครุ, ลหุ. กุ สทฺเท, โณ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ. ส. กาวฺย
กพฺพร : (ปุ.) ทูบ ชื่อไม้แม่แคร่เกวียนที่ยื่น ออกไปติดกับแอก, หัวเกวียน. วิ. กํปฐวึ วุโนติ ฉาทยตีติ กุพฺพโร. กุปุพฺโพ, วุ สํวรเณ, โร อสฺสตฺตํ, วสฺส โพ (แปลง อุ ที่ วุ เป็น อ แปลง ว เป็น พ), พฺสํโยโค.
ทพฺพน : (นปุ.) ความเขลา, ฯลฯ. ทุ. กุจฺฉิต คมเน, ยุ. พฤธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ
ทพฺพี : (อิต.) ช้อน ทัพพี ทรพี (เครื่องตักข้าวตักแกงรูปร่างคล้ายช้อน แต่ใหญ่กว่า). วิ. โอทนาทีนิ อเนน ทาเรนฺตีติ ทพฺพี. ทรฺ วิทารเร, โพ, รสฺส โพ. ทุ คติยํ, วา, โพ. พฤธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว ว เป็น พ หรือแปลง อุ เป็น อ ซ้อน พฺ เป็น ทพฺพิ ก็มี. ส. ทรฺพิ.
ทุพฺพา : (อิต.) หญ้าแพรก วิ. อวมงฺคลํ ทุพฺพตีติ ทุพฺพา. ทุพฺพ หึสายํ, อ. ทุนฺนิมิตฺตาทโย วาเรนฺติ เอตายาติ วา ทุพฺพา. ทุนฺนิมิต-ตาทิปุพฺโพ, วรฺ อาวรเณ, อ. ลบบทหหน้าเหลือ ทุ และ ลบ รฺ แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ อา อิต. ส. ทูพ, ทุรฺพพา.
นิพฺพาณ นิพฺพาน : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
พริห : (นปุ.) หาง เช่น หางนกยูง. วรหฺ ปาธานิเย, อ. แปลง ว เป็น พ และ อ ที่ ร เป็น อิ.
พาณ : (ปุ.) ลูกธนู, ลูกปืน, เสียง. วิ. วณฺยเต อเนนาติ พาโณ. วณฺ สทฺเท, โณ. แปลง ว เป็น พ.