Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ฟัน , then ฝัน, ฟน, ฟัน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ฟัน, 61 found, display 1-50
  1. อาภินฺทติ : ก. ตัด, ฟัน, บั่นทอน
  2. ทฺวิช : (ปุ.) พราหมณ์ ชื่อคนวรรณะที่ ๒ ในวรรณะ ๔ วิ. กุลาจารพฺราหฺมณวเสน ทฺวิกฺขตฺตํชาตตฺตตา ทฺวิโช. ฟัน (กระดูกเป็นซี่ๆ อยู่ในปาก) วิ. ทฺวีสุ ฐาเนสุ ทฺวิกฺขตฺตุ วา ชายเตติ ทฺวิโช. สัตว์ผู้เกิดสองหน, นก. วิ. มาตุกุจฺฉิโต อณฺฑโต จาติ ทฺวิกฺขตฺตุชาตตฺตา ทฺวิโช. ส. ทฺวิช.
  3. ทสน : (ปุ.) ฟัน วิ. ทํสเต ภกฺข มเนนาติ ทสโน, ทํสฺ ทํสเน, ยุ. ส. ทศน.
  4. ทสน : (นปุ.) ฟัน ( กระดูกเป็นซี่ๆอยู่ในปาก ). ทํสฺ ทํสเน, ยุ. ส. ทํศน.
  5. รท : ป. ฟัน
  6. รทน : ป. ฟัน
  7. ลปนช : ป. ฟัน
  8. อารท : (ปุ.) ฟัน.อาปุพฺโพ, รทฺวิเลขเน, อ.
  9. กกจทนฺต : ป. ซี่หรือฟันเลื่อย
  10. ขณฺฑทนฺต : ค. ผู้มีฟันหัก (ฟันหลุด)
  11. ขณฺฑิจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีฟันหัก วิ. ขณฺฑิกสฺส ภาโว ขณฺฑิจฺจํ. ขณฺฑิก+ณฺย ปัจ. แปลง ก เป็น จ ลบ อ ที่ จ ลบ ณฺ รวม เป็น จยฺ แปลง เป็น จฺจ.
  12. ฆาฏ : (ปุ.) การฆ่า, การฆ่าฟัน, การตี, การประหาร, การทำลาย, การกำจัด, การเบียดเบียน. ฆฏฺ หึสายํ, โณ. การรวมกัน, การติดต่อกัน, ต้นคอ, ท้ายทอย. ฆฏฺ สํฆาเต, โณ.
  13. จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
  14. จตฺตาฬีสทนฺต : ค. (มหาบุรุษ) ผู้มีฟันสี่สิบซี่
  15. ฉชฺช : (ปุ.) ฉัชชะ ชื่อเสียงดนตรีอย่างที่ ๓ ใน ๗ อย่าง เกิดจากหกส่วนคือ จมูก ปาก อก เพดาน ลิ้น และฟันหรือคอ เป็นเสียง เหมือนนกยูงร้อง วิ. ฉหิ ชาโต ฉชฺโช. ฉ+ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ลบที่สุดธาตุ แปลง ช เป็น ชฺช.
  16. ชมฺภ : ป. ฟัน; ผลมะนาว; อาหาร; กอง
  17. ตนฺตุวาย : (ปุ.) ฟืม (เครื่องสำหรับทอผ้ามีฟัน เป็นซี่ ๆ คล้ายหวี) แมงมุม (สัตว์ไม่มีกระ ดูกสันหลังมร ๘ ขา ที่ก้นมีใยสำหรับชัก ขึงเป็นข่ายดักสัตว์)
  18. ตาลุ : (ปุ.) เพดาน, เพดาลปาก. วิ. ตลนฺติ เอตฺถ ทนฺตาติ ตาลุ ( เป็นที่ตั้งแห่งฟัน). ตลฺ ปติฏฺฐายํ ณุ. รูปฯ ๖๓๕ ตั้ง ตรฺ ตรเณ, ณุ. แปลง ร เป็น ล. ส. ตาลุ.
  19. ทฏฺฐา : อิต. ฟันซี่ใหญ่, เขี้ยว
  20. ทนฺต : (ปุ.) ฟัน, งา, งาช้าง. วิ. ทายติ ภกฺข มเนนาติ ทนฺโต. ทา อวทารเณ, อนฺโต, รสฺโส. ส. ทนฺต,
  21. ทนฺตก : นป. เข็มกลัดที่ทำด้วยฟันสัตว์หรืองาช้าง
  22. ทนฺตกฏฺฐ : (นปุ.) ไม้ชำระฟัน, ไม้สีฟัน, แปรง สีฟัน. วิ. ทนฺตโสธนตฺถํ กฏฺฐํ.
  23. ทนฺตกฏฺฐ : นป. ไม้สีฟัน, แปรงสีฟัน
  24. ทนฺตกูฏ : ป. ปลายฟัน
  25. ทนฺตคีต : (นปุ.) การขับร้องด้วยฟัน, การผิวปาก.
  26. ทนฺตช : (ปุ. นปุ.) อักขระเกิดแต่ฟัน, ทันตชะ ที่เกิดของพยัญชนะ คือ ต ถ ท ธ น ล ส.
  27. ทนฺตฏฺฐิก : ป. กระดูกฟัน
  28. ทนฺตปนฺติ, ทนฺตปาฬิ : อิต. ถ่องแถวแห่งฟัน, ระเบียบแห่งฟัน
  29. ทนฺตโปณ : ป. ไม้สีฟัน, แปรงสีฟัน
  30. ทนฺตโปณ ทนฺตโปน : (ปุ.) ไม้ชำระฟัน, ฯลฯ. วิ. ทนฺเต ปุนาติ อเนนาติ ทนฺตโปโณ ทนฺตโปโน วา. ทนฺตปุพฺโพ, ปุ สุทฺธิกรเณ, ยุ.
  31. ทนฺตมูล : นป. โคนฟัน, รากฟัน, เหงือก
  32. ทนฺตวิขาทน : นป. การเคี้ยวด้วยฟัน
  33. ทนฺตวิทสก : ค. ซึ่งเปิดเผยฟัน, (การหัวเราะ) จนเห็นฟัน
  34. ทนฺตเวฐน : (นปุ.) เหงือก ( หุ้มฟันไว้). ส. ทนฺตเวษฺฏ.
  35. ทนฺตสมฺปตฺติ : อิต. ความถึงพร้อมด้วยฟัน, ความถึงพร้อมแห่งฟัน, ความมีฟันเรียบร้อยสวยงาม
  36. ทนฺตายุธ : (ปุ.) หมู ( มีฟันเป็นอาวุธ ). ส. ทนฺตายุธ.
  37. ทนฺตาวรณ : (นปุ.) ที่เป็นที่กั้นซึ่งฟัน, ริม ฝีปาก. วิ. ทนฺเต อาวรตีติ ทนฺตาวรณํ. ทนฺตปุพฺโพ, วรฺ สํวรเณ, ยุ.
  38. ทนฺตุลฺลหก, - เลหก : อ. โดยใช้ฟันและเล็บ
  39. ทาฐรท : (ปุ.) ฟันสำหรับเคี้ยว, เขี้ยวและฟัน.
  40. นาส : (ปุ.) ความตาย, ความเสื่อม, ความฉิบ หาย, ความพินาศ, ความย่อยยับ ความป่นปี้, การทำลาย, การฆ่า, การฆ่าฟัน. นสฺ อทสฺสเน, โณ. ส. นาศ.
  41. นาสน : (นปุ.) การให้ตาย, ฯลฯ, การฆ่า, การฟัน, การฆ่าฟัน, นาสนะ ชื่อการลงโทษภิกษุ ผู้ทำผิดให้ ลาสิกขา ให้สละสมณเพศ. นสฺ ธาตุ เณ เหตุปัจ. และ ยุ ปัจ.
  42. นาสนา : (อิต.) การให้ตาย, ฯลฯ, การฆ่า, การฟัน, การฆ่าฟัน, นาสนะ ชื่อการลงโทษภิกษุ ผู้ทำผิดให้ ลาสิกขา ให้สละสมณเพศ. นสฺ ธาตุ เณ เหตุปัจ. และ ยุ ปัจ.
  43. นิสูทน : นป. การฆ่าฟัน
  44. ปญฺจกลฺยาณี : อิต. หญิงมีความงามห้าประการ (ผมงาม, ผิวงาม, ฟันงาม, เนื้องาม, วัยงาม)
  45. ปรสุปหาร : ป. การทุบด้วยขวาน, การตีหรือฟันด้วยขวาน
  46. มารณ : (นปุ.) การยัง...ให้ตาย, การฆ่า, การฆ่มฟัน. มรฺ+ยุ ปัจ.
  47. สสน : (นปุ.) การเป็นอยู่, การมีชีพอยู่. สสฺ ปาณเน, ยุ. การเบียดเบียน, การฆ่า, การฆ่าฟัน. สสฺ หึสายํ, ยุ.
  48. สุทนฺต : ค. มีฟันงาม, มีงางาม ; ฝึกดีแล้ว
  49. อฏฺฐิกลฺยาณ : นป. ความงามของฟัน
  50. อภิยุชฺฌติ : ก. ต่อสู้, โต้เถียง, ฆ่าฟัน, ทะเลาะ
  51. [1-50] | 51-61

(0.0184 sec)