วฺยาสตฺต : ค. ข้องอยู่, ติดอยู่, ฟุ้งซ่าน
วิกฺขิตฺต : กิต. ซัดไปแล้ว, ฟุ้งซ่าน, รบกวน, ยุ่งยาก
อาลุเฬติ : ก. สับสน, ฟุ้งซ่าน, วุ่นวาย; ให้สับสน, ให้วุ่นวาย
อาลุลติ : ก. ฟุ้งซ่าน, ขุ่นมัว, หมองหม่น
ขิตฺตจิตฺต : (วิ.) ผู้มีจิตฟุ้งซ่าน, ผู้ไม่สำรวมจิต.
จิตฺตกฺเขป : ป. ความฟุ้งซ่านแห่งจิต, ความวิกลจริต
จิตฺตวิกฺเขป : ป. ความฟุ้งซ่านแห่งจิต, ความวิกลจริต
วิกฺขิตฺตจิตฺต : ค. มีจิตฟุ้งซ่าน
โสรจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยินดีแล้วในธรรมอันงาม, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยินดีในธรรมอันงาม, ความเป็นผู้ยินดีในธรรมอันงาม, ความระมัดระวัง, ความไม่ฟุ้งซ่าน, ความไม่คะนอง, ความเรียบร้อย, ความเสงี่ยม. วิ. สุรตสฺส ภาโว. โสรจฺจํ. สุรต+ณฺยปัจ. ภาวตัท.
อนุทฺธต, อนุทฺธรี : ค. ไม่ฟุ้งซ่าน, ไม่อวดดี, ไม่หยิ่ง
อนุทฺธสฺต : ค. ๑. ไม่ฟุ้งซ่าน, ไม่ฟู ;
๒. ถูกทำลาย, ถูกขจัด
อวิกฺขิตฺต : ค. ไม่ถูกซัดไป, ไม่ถูกส่งไปที่อื่น, ไม่ฟุ้งซ่าน
อวิสาหฏ : ค. ไม่ถูกรบกวน, ไม่ถูกทำให้เขวหรือฟุ้งซ่าน
อาลุฬิต : ค. ซึ่งหวั่นไหว, ซึ่งฟุ้งซ่าน
อุทฺธจฺจ : (นปุ.) ความฟุ้งซ่าน, ความคิดพล่าน, อุทธัจจะ (ความคิดพล่านไปในอารมณ์ ต่าง ๆ อย่างเผลอตัว). วิ. อุทฺธํ หนตีติ อุทฺธโต. อุทิธํปุพฺโพ, หนฺ คติยํ, โต, หนสฺส โธ (แปลง หน เป็น ธ), อสรูปทฺวิตตํ (แปลง ธ เป็น ทฺธ และ ลบ ทฺธํ ที่บทหน้า). อุทฺธตสฺส ภาโว อุทฺธจฺจํ. ณฺย ปัจ. กัจฯ และ รูปฯ ลง ย ปัจ.
อุทฺธฏ : (นปุ.) ความฟุ้งซ่าน. วิ. อุทฺธํ อฏติ จิตฺต เมเตนาติ อุทฺธฏํ. อุทฺธํปุพฺโพ, อฏฺ คมเน, อ.
เอกคฺคตา : (อิต.) ความเป็นแห่งจิตมีอารมณ์ เดียว, ฯลฯ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีจิต แน่วแน่อยู่ในอารมณ์เดียว, ความที่แห่งจิต เป็นจิตมีอารมณ์เดียว (ไม่ฟุ้งซ่าน), ฯลฯ, สมาธิ, อัปปนาสมาธิ.