ภณฺฑาคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนเป็นที่ไว้ของ, เรือนสำหรับเก็บของ, โรงไว้ของ, โรงเก็บของ, เรือนคลัง, กุดัง, โกดัง, คลังสิ่งของ, คลังสินค้า.
ภณฺฑาคาริก : (วิ.) ผู้ประกอบในเรือนคลัง, ผู้รักษาเรือนคลัง, ฯลฯ.
ภณฺฑ : (นปุ.) ราคาทรัพย์, ต้นทุน, ทรัพย์อันเป็นต้นทุน, สมบัติ, ทรัพย์สมบัติ, เครื่อง (สิ่ง สิ่งของ), สิ่งของ, ข้าวของ, ของใช้, เครื่องใช้, สิ่งของเครื่องใช้, เครื่อง ใช้สอย, เครื่องทัพพสัม ภาระ, เครื่องประดับ, เครื่องแต่งตัว, ลอม (ของที่รวมตะล่อมเข้าเป็นกอง), ทรัพย์อันบุคคลพึงห่อ, สินค้า. ภฑิ ภณฺฑตฺเถ, โก, นิคฺคหิตาคโม, กโลโป.
ภณฺฑ, - ฑก : นป. สิ่งของ, สินค้า
ภณฺฑติ : ก. ทะเลาะ, ก่อการวิวาท
กฏุกภณฺฑ : นป. เครื่องเทศ
กปฺปิยภณฺฑ : (นปุ.) สิ่งของอันสมควร, สิ่งของ อันสมควรแก่สมณะ, กัปปิยภัฑ์ สิ่งของที่ ภิกษุใช้ได้ไม่ผิดพระวินัย.
กมฺมารภณฺฑ : นป. เครื่องมือของช่างเหล็ก
กสิภณฺฑ : (นปุ.) อุปกรณ์ทำนา, อุปกรณ์การเพาะปลูก.
กุมฺภณฺฑ : (ปุ.) กุมภัณฑะ ชื่อกำเนิดเทวดาอย่างที่ ๗ ใน ๘ อย่าง, กุมภัณฑ์ (ยักษ์). กุมฺภปฺปมาณณฺฑตาย กุมฺภณฺโฑ.
กุมฺภณฺฑสามิ : (ปุ.) กุมภัณฑสามิ ชื่อท้าวจตุโลก- บาลประจำ (ทิศใหญ่) ทิศใต้, ท้าววิรุฬหก.
ครุภณฺฑ : (นปุ.) ของหนัก, ของมีค่ามาก, ของใช้ทน, ครุภัณฑ์.
ปฏิภณฺฑ : นป. ของหรือสินค้าแลกเปลี่ยน
ปฏิภณฺฑติ : ก. ด่าตอบ
ปริภณฺฑ : ป. ของใช้, สายรัด, เครื่องเรือน, วงขอบ
พหุภณฺฑ : ค. มีภัณฑมาก, มีสิ่งของมาก
ภณฺฑากี : (อิต.) มะเขือ, ภณฺฑ ปริภาสเน, ยุ.
ภณฺฑน : (นปุ.) การทะเลาะ, การทะเลาะกัน, การทุ่มเถียงกัน, การเถียงกัน, การแก่งแย่ง, การหมายมั่น, การด่า, การบริภาษ. ภฑิ ภณฺฑ ภณฺที ปริภาสเน, ยุ.
ภณฺฑิก : (ปุ.) ชบา. ภณฺฑ+อิก ปัจ.