ภตฺต : (ปุ.) ผัว, สามี. ภรฺ ภรเณ, โต.
ภตฺตปุฏ : นป. ห่อข้าว
ภตฺตวิสฺสคฺค : ป. การแจกจ่ายอาหาร
ภตฺตเวลา : อิต. เวลาอาหาร
กากภตฺต : นป. อาหารของกา
คิลานภตฺต : นป. ศิลานภัต, อาหารเพื่อผู้ป่วย
จีวรภตฺต : นป. จีวรและภัต
ทฺวารภตฺต : นป. ภัตที่ประตูเรือน, ภัตซึ่งตั้งไว้ที่ประตูเรือนเพื่อบริจาคทาน
ปกฺขิกภตฺต : นป. อาหารที่ให้ประจำปักษ์
ปุฏภตฺต : นป. อาหารในถุงหรือห่อ
มตกภตฺต : (นปุ.) ภัตอันบุคคลพึงให้เพื่อบุคคลผู้ตายแล้ว, ภัตอันบุคคลถวายเพื่อบุคคลผู้ตายแล้ว, ภัตอันบุคคลถวายเพื่ออุทิศผลแด่บุคคลผู้ตาย, ภัตเพื่อผู้ตาย, มตกภัต (อาหารที่ทำบุญอุทิศให้ผู้ตาย).
สลากภตฺต : (นปุ.) ภัตอันบุคคลยังบุคคลให้จับสลากแล้วจึงให้, ภัตตามสลาก, สลากภัต, ฉลากภัต.
ฑาก : (ปุ.) ผัก (สำหรับดองหรือแกง), ผัก ดอง, เมี่ยง. วิ. เฑติ ภตฺต เมเตนาติ ฑาโก. ฑิ ปเวสเน, โณ. พฤทธิ อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อา ก สกัด หรือตั้ง ฑํสฺ+ณฺวุ ลบ นิคคหิต และ สฺ
ภตฺติ : (อิต.) การแบ่ง, การแจก, การให้, การให้ปัน. ภชฺ ภาชน-ทาเนสุ, ติ แปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ชฺ.
ภตฺตุ : (ปุ.) ผัว, ภัสดา, ภัศดา, ภรรดา. ภรฺโปสเน, ริตุ, แปลง รฺ เป็น ตฺ ลบ ริ หรือ แปลง ตุ เป็น ตฺตุ ลบ รฺ และ ลบ ริ. อภิฯ. รูปฯ ๕๕๙ ลง ตุ. ปัจ. แปลง รฺ เป็น ตฺ. ส. ภฺรตถุ.
ภิตฺติ : (อิต.) ฝา, ฝาเรือน, กำแพง. ภิทิ ทฺวิธากรเณ, ติ.
ภุตฺต : กิต. กินแล้ว
ภุตฺติ : (อิต.) การกิน, การเสวย, การบริโภค. ภุชฺ โภชเน, ติ.
เภตฺตุ : (วิ.) ผู้ทำลาย. ภิทิ วิ-ทารเณ, ตุ.
ปุเรภตฺต : (นปุ.) ก่อนแห่งภัต, กาลก่อนแต่กาลแห่งภัต (ในเวลาก่อนฉัน), ก่อนอาหาร, เวลาก่อนอาหาร, ปุเรภัต, วิ. ภตฺตสฺส ปุเร ปุเรภตฺตํ. ภตฺตา วา ปุเร ปุเรภตฺตํ.
อิตฺถี : (อิต.) นาง (คำใช้แทนหญิง), ภรรยา, ภริยา. อุ. ภตฺตา ปญฺญาณมิตฺถิยา. ภัสดา เป็นเครื่องปรากฏแห่งภรรยา.
กึกร กึการ : (ปุ.) คนใช้ (คนรับใช้), ทาส, บ่าว. วิ. กิญฺจิ กโรตีติ กึกโร กึกาโร วา. กึปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ, โณ. อห มชฺช กึ กริสฺสามีติ ภตฺตุ กตฺตพฺพกิจฺจยาจนตฺตา วา กึกาโร. ส. กึกร กิงฺกร.
จาตุมฺมหาราชิก : (วิ.) (เทวดา) ชั้นจาตุมมหา- ราช วิ. จาตุมฺมหาราเชสุ ภตฺติ เอเตสนฺติ จาตุมฺมหาราชิกา ( ผู้ภักดีในท้าวมหาราช ทั้งสี่องค์ ). รูปฯ ๓๖๐. จาตุมฺมหาราเชสุ ถตฺตา เอเตสนฺติ จาตุมฺมหาราชิกา ( ผู้รับ ใช้ในท้าวมหาราชทั้งสี่องค์). โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๒ ณิกปัจ. สกัด.
นนนฺทา : (อิต.) พี่น้องหญิงของผัว วิ. สามิโน ภตฺตุ ภคินี นนนฺทา นาม. น นนฺทคตีติ วา นนนฺทา. นปุพโพ, นนฺทฺ สมิทฺธิยํ, อ. ไม่แปลง น เป็น อ เป็น ปกติสนธิ.
ภตฺตการ ภตฺตการก : (ปุ.) คนหุงข้าว, พ่อครัว. วิ. ภตฺตํ กโรติ กริสฺสติ อกาสีติ ภตฺตกาโร ภตฺตการโก วา. ศัพท์หลัง ก สกัด.
อญฺชลิ อญฺชลี อญฺชุลี : (ปุ.) การประนมมือ, การไหว้ (ส่วนใหญ่ใช้ในความหมายว่า ประนมมือ), ประนมมือ, กระพุ่มมือ, กระพุ่มมืออันรุ่งโรจน์โดยยิ่ง, อัญชลี, อัญชุลี, ชุลึ (ตัด อัญ ออก). วิ. อญฺเชติ ภตฺติ มเนน ปกาเสตีติ อญฺชลิ อญฺชลี วา, อญฺชฺ ปกาสเน, อลิ, อลี. สนามหลวง แผนกบาลี ปี ๒๕๑๗ เฉลยเป็น อิต. ส. อญฺชลิ.