Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ภะ , then , ภะ, ภา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ภะ, 359 found, display 1-50
  1. ภา : (อิต.) แสง, แสงสว่าง, รัศมี, ความสว่าง, ความรุ่งเรือง. ภา ทิตฺติยํ, อ.
  2. : (ปุ.) ผึ้ง, แมลงภู่.
  3. กุมฺภภารมตฺต : ค. ซึ่งจุประมาณหนึ่งหม้อ; มีปริมาตรหนึ่งหม้อ
  4. ภกมฺปิ : (นปุ.?) หวั่นไหว. ปปุพฺโพ, กปิ จลเน, อิ. แปลง ป เป็น ภ.
  5. ภควนฺตุ : (ปุ.) พระผู้มีพระภาคเจ้า. ศัพท์นี้ใช้เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าเท่านั้น และใช้เป็น ๓ วจนะ คือ เอกวจนะ ท๎วิวจนะ และ พหุวจนะ ใช้เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวงด้วย ที่เป็น อาลปนะ แปลว่า พระพุทธเจ้าข้า ได้. พระนามนี้มีอรรถมากตามธาตุ. ภชฺ เสวายํ ภาชเน จ ทาเน จ. ภญฺชฺ อวมทฺทเน, วนฺตุ ปัจ. แปลง ช เป็น ค ถ้าตั้ง ภญฺชฺ ธาตุ พึงลบ ญฺ สังโยค. ไตร. ๒๙, ๓๐.
  6. ภยานก : (ปุ.) ภยานกะ ชื่อนาฏยรสอย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง. ภโยปจยสภาโว ภยานโก.
  7. ภวาภว : (ปุ.) ความเป็นอยู่และภาวะมิใช่ความเป็นอยู่, ภพแลภพอันเจริญ, ภพและภาวิมิใช่ภพ, ภพน้อยภพใหญ่, ความเจริญและความเสื่อม.
  8. ภาชน : (นปุ.) การแจก, การจำแนก, ความแจก, ความจำแนก, วัตถุเป็นที่แบ่ง. ภชฺภาชเน, ยุ, ภาชฺ วา ปุถกมฺมนิ.
  9. ภาวิตตฺต : (วิ.) ผู้มีตนอันให้เจริญแล้ว, ผู้มีตนอัน อบรมแล้ว. ภาวิต+อตฺต.
  10. ภาสิต : (นปุ.) คำอัน...พึงกล่าว, ถ้อยคำ, คำพูด, คำกล่าว, คำที่กล่าว, ภาสิต ภาษิต คือคำกล่าวที่มีคติความฟัง คำกล่าวที่เป็นประโยชน์. ภาสฺ+ต ปัจ. อาคม.
  11. ภกุฏิ : (อิต.) สยิ้วหน้า. ปปุพฺโพ, กุฏฺ โกฏิลฺเล, อิ.
  12. ภคนฺทลา : อิต. โรคริดสีดวง
  13. ภติก : (วิ.) ผู้เลี้ยงชีพด้วยค่าจ้าง, ผู้ทำซึ่งค่าจ้าง. ภติ+กรฺ+กฺวิ ปัจ.
  14. ภทนฺต, ภทฺทนฺต : ค. ท่านผู้เจริญ, พระผู้เป็นเจ้า, พระคุณเจ้า (ใช้สำหรับพระสงฆ์)
  15. ภทนฺตุ : (ปุ.) บุคคลผู้เจริญ, ท่านผู้เจริญ.
  16. ภทนฺเต : (อัพ. นิบาต) ดู ภนฺเต.
  17. ภมติ : ก. หมุน, กลึง
  18. ภยงฺกร : (วิ.) ทำซึ่งภัย, กระทำซึ่งภัย, น่ากลัว, น่าสพึงกลัว. ทุ. ตัป. อลุตตสมาส.
  19. ภยงฺกร ภยานก : (นปุ.) สิ่งอันน่าสพึงกลัว. ความขลาด, ฯลฯ.
  20. ภยูปรต : (วิ.) ผู้มีความกลัวยังไม่สิ้น, ผู้ยังมีความกลัว. ภย+อุปรต.
  21. ภวงฺค : (นปุ.) องค์แห่งภพ, ภวังค์ คือส่วนที่สืบต่อระหว่างปฏิสนธิกับจุติ อีกอย่างหนึ่ง คือภพของจิต ที่อยู่ของจิต.
  22. ภวงฺคจิตตฺ : (นปุ.) จิตเป็นองค์แห่งภพ, จิตตกลงสู่กระแสภวังค์, จิตเป็นภวังค์, ภวังคจิต คือ จิตตกลงสู่กระแสภวังค์ เป็นอยู่โดยไม่รู้สึกตัว สืบต่อไว้ซึ่งภพ บังเกิดติดต่อกันดุจกระแสน้ำไหล ทำหน้าที่รักษาภพชาติให้ดำรงอยู่ อีกบรรยายหนึ่งจิตที่เกิดต่อจากปฏิสนธิ จิตทำหน้าที่รักษาภพชาติให้ดำรงอยู่เท่าที่อายุของสังขารจะอยู่ได้ในภพที่ปฏิสนธิ (เกิด) นั้น เกิดดับโดยไม่ขาดสายจนกว่าจะถึงจุติจิต (ตาย) จิตนั้นจะขาดจากภวังค์เมื่อขึ้นสู่วิถีรับอารมณ์ทางทวารทั้ง ๖ ก็ขาดจากภวังค์ เมื่อรับอารมณ์แล้ว จิตก็ตกกระแสภวังค์ต่อไป วนอยู่อย่างนี้.
  23. ภวนฺต : (วิ.) ผู้เจริญ. ถ้าเป็นวิเสสนะของนาม อิต. เป็น โภตี.
  24. ภวนฺตคู : ค. ถึงที่สุดแห่งภพ, ไม่เกิดอีก
  25. ภวนฺตุ : (ปุ.) ปูชารหบุคคล, พระผู้มีพระภาคเจ้า, พระพุทธเจ้า (ชิน).
  26. ภวนิกฺขมน : (นปุ.) อันออกไปจากภพ, ความออกไปจากภพ.
  27. ภวนิสฺสรณ : (นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องออกไปจากภพ, ธรรมชาติเป็นเครื่องสกัดออกจากภพ.
  28. ภวาสว : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ไหลไปในภพ, กิเลสเครื่องหมักดอกในภพ, อาสวะเป็นเหตุอยากเป็น, อาสวะ คือ ภพ, ภาสวะ (ความหมกมุ่นอยู่ในภพ).
  29. ภากุฏิก : ค. ขมวดคิ้ว, หน้าสยิ้ว
  30. ภาคีรถี : (อิต.) แม่น้ำคงคา.
  31. ภาชก : ป. ผู้แบ่ง, ผู้แจก
  32. ภาชนฺตร : (นปุ.) กระโถน.
  33. ภาชนวิกติ : อิต. ภาชนะชนิดต่างๆ
  34. ภาเชติ : ก. แบ่ง, แจก, จำแนก
  35. ภาติ : ก. ส่องแสง
  36. ภาติก : (ปุ.) พี่น้องชาย, พี่ชายน้องชาย, พี่ชาย, น้องชาย, พี่น้อง, พี่, น้อง, ภาดร, ภาดา, ภราดา, ภราดร. ส. ภฺราตถฺ.
  37. ภาติก, ภาตุ : ป. พี่ชาย, น้องชาย
  38. ภาติย : (ปุ.) หลาน (ลูกของพี่ชาย ลูกของน้องชาย).
  39. ภาตุธีตุ : (ปุ.) หลาน, หลานสาว (ลูกของพี่ชาย หรือลูกของน้องชาย).
  40. ภาตุปุตฺต : (ปุ.) หลาน หลานชาย (ลูกของพี่ชาย หรือลูกของน้องชาย).
  41. ภานุ : ป. แสงสว่าง, พระอาทิตย์
  42. ภารกิจฺจ : (นปุ.) งานหนัก, กิจหนัก, ภารกิจ (งานที่ต้องทำ).
  43. ภารนิกฺเขปน : นป. การวางของหนัก, การวางธุระ
  44. ภาริก : (ปุ.) คนนำของหนักไป. ณิกปัจ.
  45. ภาริย : (วิ.) ผู้อันบุคคลพึงเลี้ยง. ภรฺ โปสิน, โณฺย, อิ คาคโม.
  46. ภาวน : (นปุ.) คุณชาติเป็นเครื่องยัง...ให้เกิด, คุณชาติเป็นเครื่องยัง...ให้เจริญ, ความมี, ฯลฯ.
  47. ภาวนามย : (วิ.) สำเร็จด้วยภาวนา, สำเร็จด้วยการเจริญภาวนา.
  48. ภาวนีย : กิต. ควรทำให้มี, ควรทำให้เป็น, ควรทำให้เกิด, น่าเจริญ, น่ายกย่อง
  49. ภาวิต : กิต. เจริญแล้ว, อบรมแล้ว
  50. ภาวี : ค., ป. ซึ่งมี, ซึ่งเป็น, ความมี, ความเป็น
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-359

(0.0302 sec)