กมฺม : (วิ.) อันเขาย่อมทำ, อันเขาทำ, เป็น เครื่องอันเขาทำ, ฯลฯ.
ตป (โป) กมฺม : นป. กรรมคือตบะ, การบำเพ็ญตบะ, การทรมานกาย
ภณฺฑุกมฺม : (นปุ.) การโกนหัว, การปลงผม, ภัณฑกรรม คือการขออนุญาตปลงผมผู้ที่จะบวชอันภิกษุทำเอง เป็น อปโลกนกรรม.
กมฺมโยนิ : (วิ.) มีกรรมเป็นกำเนิด ว. โยนิกํ กมฺมํ ยสฺส โส กมฺมโยนิ. ลบ ก สกัด แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง.
กมฺมนฺต : (ปุ.) การงาน. กมฺม ศัพท์ อนฺต สกัด.
กายวาจาทิ : (วิ.) มีกายกรรมและวจีกรรม เป็นต้น. ลบ กมฺม หลัง กาย, วาจา ออก. มีกายทวาร และวจีทวาร เป็นต้น. ลบ ทฺวาร ออก.
กมฺมธารย : (วิ.) (สมาส) อันทรงไว้ซึ่งกรรม, อันทรงไว้ซึ่งของสองสิ่งเพียงดังกรรม. วิ. กมฺมมิว ทฺวยํ ธารยตีติ กมฺมธารโย.
กมฺมคติ : (อิต.) ภูมิเป็นที่ไปแห่งกรรม, ความเป็นไปแห่งกรรม, ทางดำเนินแห่งกรรม, ส. กรฺมคติ.
กมฺมครุ : ค. ผู้หนักในกรรม, ผู้เคร่งในการงาน
กมฺมชรูป กมฺมชฺชรูป : (นปุ.) รูปอันเกิดแต่ กรรม, กัมมชรูป กัมมัชชรูป คือรูปที่ กรรมสร้าง มองด้วยตาเนื้อไม่เห็น เกิด พร้อมกับปฏิสนธิจิต เพราะจิตยังอาศัยรูป นี้อยู่ และเกิดดับเป็นสันตติ จนถึงจุติจิต (มรณสันนวิถี). ส. กรฺมชรูป.
กมฺมชวาต : ป. ลมกรรมชวาต, ลมเกิดแต่กรรม, ลมเบ่ง
กมฺมชวาต กมฺมชฺชวาต : (ปุ.) ลมเกิดแล้วแต่ กรรม ลมอันเกิดแต่กรรม, ลมเกิดแต่ กรรม, ลมเบ่ง, กัมมชวาต กัมมัชชวาต กรรมัชวาต (ลมเกิดในครรภ์เวลาคลอด บุตร). ส. กรฺมชวาต.
กมฺมชาต : นป. สิ่งที่เกิดแต่การกระทำ
กมฺมทายาท : (วิ.) ผู้รับมรดกของกรรม, ผู้มี กรรมเป็นมรดก.
กมฺมปฏิสรณ : (วิ.) มีกรรมเป็นที่พึ่ง, มีกรรม เป็นที่พึ่งอาศัย.
กมฺมผล : นป. ผลของกรรม
กมฺมพนฺธุ : (วิ.) มีกรรมเป็นพวกพ้อง, มีกรรม เป็นเผ่าพันธุ์.
กมฺมพล : นป. กำลังแห่งกรรม, อำนาจของกรรม
กมฺมพหุล : ค. ผู้มากไปด้วยกรรม
กมฺมภูมิ : อิต. ภูมิของกรรม, ชื่อของกรรม
กมฺมมูล : ค. มีกรรมเป็นมูลเหตุ
กมฺมมูลก : ค. ซึ่งเกิดขึ้นเพราะมีกรรมเป็นมูล
กมฺมโยนิ, - นี : ค. มีกรรมเป็นกำเนิด
กมฺมวาจก : (ปุ.) กรรมวาจก ชื่อวาจก ๑ ใน ๕ วาจกที่ยกกรรม คือสิ่งที่ถูกทำเป็นประธาน (กล่าวกรรมเป็นประธาน). ส. กรฺมวาจก.
กมฺมวาจา : (อิต.) กรรมวาจา คือคำกล่าว แสดงงานที่สงฆ์จะต้องทำ คำประกาศกิจ การในท่ามกลางสงฆ์ในพิธีของสงฆ์. ส. กรฺมวาจา.
กมฺมวาจาจริย : (ปุ.) อาจารย์ผู้สวดกรรมวาจา คือคู่สวดรูปที่นั่งทางขวามือของอุปัชฌาย์.
กมฺมวาท : ป. ความเห็นว่ากรรมคือการกระทำมีอยู่
กมฺมวาที : (วิ.) ผู้กล่าวซึ่งกรรมโดยปกติ, ผู้มี ปกติกล่าวว่ากรรม, ผู้มีปกติกล่าวว่ากรรม อันสัตว์ทำแล้วชื่อว่าเป็นอันทำ, ผู้มีปกติ กล่าวว่ากรรมให้ผล, กรรมวาที (ผู้เชื่อว่า การทำมีผลที่ตนจะต้องได้รับ ผู้เชื่อว่าผล ของกรรมมีอยู่)
กมฺมวิธิ : (ปุ.) แบบอย่างแห่งการทำ, วิธี ดำเนินการ, พิธีดำเนินการ. ส. กรฺมวิธิ.
กมฺมวิปาก : (ปุ.) ผลอันเกิดแต่กรรม, ผลของ กรรม. ส. กรฺมวิปาก, กรฺมฺมวิปาก.
กมฺมวิสุทฺธิ : อิต. ความบริสุทธิ์แห่งกรรม
กมฺมวิเสส : ป. ความวิเศษแห่งกรรม, ความแตกต่างแห่งกรรม
กมฺมเวค : ป. กำลังแห่งกรรม, ความเร็วแห่งกรรม
กมฺมโวสฺสคฺค : ป. ความแตกต่างแห่งกรรม, การจำแนกแห่งกรรม
กมฺมสมฺปตฺติ : (อิต.) การถึงพร้อมแห่งกรรม, ความถึงพร้อมแห่งกรรม,สมบัติของกรรม, การถึงพร้อมแห่งการงาน, ความพิจารณา การงาน, ความตรวจตราการงาน.
กมฺมสมฺภว : ค. เกิดขึ้นแต่กรรม, มีกรรมเป็นแดนเกิด
กมฺมสมาทาน : (นปุ.) การยึดมั่นในกรรม, การถือกรรม.
กมฺมสมารมฺภ : ค. มีการเริ่มต้นในกรรม
กมฺมสมุฏฐาน : ค. อันเกิดขึ้นแต่กรรม
กมฺมสหาย : ค. มีกรรมเป็นเพื่อน
กมฺมสาทุตา : อิต. ความควรแก่การงาน, ความเหมาะสมแก่การงาน
กมฺมสามี : ป. เจ้าของกรรม
กมฺมสีล : ค. ผู้ทำการงานเป็นปกติ
กมฺมหีน : ค. ผู้ว่างงาน, ผู้ไม่มีการงานทำ
กมฺมกร : (ปุ.) คนทำการงาน, คนรับจ้างทำ งาน, คนงาน, ลูกจ้าง. วิ. กมฺมํ กโรตีติ กมฺมกโร. กมฺมปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ. ส. กรฺมกร.
กุกมฺม : (นปุ.) กรรมอันบัณฑิตเกลียด, กรรม น่าเกลียด, กรรมชั่ว. กุจฺฉิต+กมฺม.
กสิกมฺม : (นปุ.) กรรมคือการไถ, การไถ, การทำนา, การเพาะปลูก. วิ. กสิ เอว กมฺมํ กสิกมฺมํ.
กุลทูสกกมฺม : (นปุ.) การกระทำของภิกษุผู้ประ- ทุษร้ายตระกูล มี วิ. ดังนี้. ทุ. ตัป. กุลสฺส ทูสโก กุลทูสโก (ภิกฺขุ). วิเสสนบุพ. กัม. กุลทูสกภิกฺขุโน กมฺมํ กุลทูสกกมฺมํ. แปล ว่า การกระทำของบุคคลผู้ประทุษร้าย ตระกูลบ้าง.