ภต : (วิ.) ผู้อัน......เลี้ยงแล้ว, ผู้อันเขาเลี้ยง.
ภตฺตกาล : (ปุ.) เวลาแห่งภัต, ภัตกาล คือ เวลาฉันอาหารของภิกษุ-สามเณร หรือ ผู้รักษาอุโบสถศีล.
ภตฺตกิจฺจ : (นปุ.) กิจด้วยภัต คือ การฉันอาหาร.
ภตฺตาหาร : (ปุ.) อาหารคือข้าว, ข้าวและอาหาร, ภัตาหาร คือ อาหารต่างๆ ที่จัดไว้สำหรับถวายพระ.
ภตฺตุเทสก ภตฺตุทฺเทสก : (วิ.) ผู้แสดงซึ่งภัต, ผู้แจกซึ่งภัต, ผู้แสดงภัต. ผู้แจกภัต.
ปุเรภตฺต : (นปุ.) ก่อนแห่งภัต, กาลก่อนแต่กาลแห่งภัต (ในเวลาก่อนฉัน), ก่อนอาหาร, เวลาก่อนอาหาร, ปุเรภัต, วิ. ภตฺตสฺส ปุเร ปุเรภตฺตํ. ภตฺตา วา ปุเร ปุเรภตฺตํ.
เอกภตฺติก : (วิ.) ผู้มีภัตครั้งเดียว, ผู้มีภัตหน เดียว (บริโภคอาหารมื้อเดียวใน ๑ วัน).
กตภตฺตกิจฺจ : (วิ.) ผู้มีกิจด้วยภัตอันทำแล้ว.
กลฺยาณภตฺติก : ค. ผู้มีภัตอันดี
คนฺธสาลิตณฺฑุลภตฺต : (นปุ.) ภัตแห่งข้าวสาร แห่งข้าวสาลีมีกลิ่นหอม. เป็น ฉ. ตัป. มี ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. วิเสสนปุพ. กัม. และ ฉ. ตัป. เป็นภายใน.
คมิกภตฺต : (นปุ.) ภัตเพื่อบุคคลผู้จะไป, ภัตเพื่อ ประโยชน์แก่บุคคลผู้จะไป, ภัตเพื่อบุคคล ผู้เดินทาง, ภัตเพื่อประโยชน์แก่บุคคลผู้จร มา.
จตุตฺถภตฺต : นป. ภัตที่พึงบริโภคในวันที่สี่ (หลังจากที่ได้ถือพรตมาตลอดแล้วสามวัน), อาหารที่บริโภคทุกๆ สี่วัน
จีวรภตฺต : นป. จีวรและภัต
ทฺวารภตฺต : นป. ภัตที่ประตูเรือน, ภัตซึ่งตั้งไว้ที่ประตูเรือนเพื่อบริจาคทาน
ธุรภตฺต : นป. ภัตที่เขาให้เป็นประจำ
ธุวภตฺต : นป. ธุวภัต, ภัตที่จัดไว้เป็นประจำ
นิจฺจภตฺต : (นปุ.) ภัตอัน.. ถวายประจำ, ภัตที่...ถวายประจำ, นิตยภัต.
ปาฏิปาทก, - ทิก : ค. (ภัตต์) ที่ถวายในวันขึ้นหรือแรม ๑ ค่ำ
ภตฺตคฺค : (ปุ.) โรงแห่งภัต, โรงสำหรับฉันอาหาร, โรงฉัน, หอฉัน.
ภุตฺตาวเสสกภตฺต : (นปุ.) ภัตอันเหลือจากภัตอันภิกษุฉันแล้ว.
มตกภตฺต : (นปุ.) ภัตอันบุคคลพึงให้เพื่อบุคคลผู้ตายแล้ว, ภัตอันบุคคลถวายเพื่อบุคคลผู้ตายแล้ว, ภัตอันบุคคลถวายเพื่ออุทิศผลแด่บุคคลผู้ตาย, ภัตเพื่อผู้ตาย, มตกภัต (อาหารที่ทำบุญอุทิศให้ผู้ตาย).
สลากภตฺต : (นปุ.) ภัตอันบุคคลยังบุคคลให้จับสลากแล้วจึงให้, ภัตตามสลาก, สลากภัต, ฉลากภัต.
สายมาส : (นปุ.) โภชนะอันบุคคลพึงบริโภคในเวลาเย็น, ภัตอันบุคคลพึงบริโภคในเวลาเย็น. สายํ+อส แปลง นิคคหิตเป็น ม อ+อ เป็น อา.
อพฺยยสทฺท : (ปุ.) ศัพท์คงที่, ฯลฯ, อัพยยศัพท์ชื่อศัพท์จำพวกหนึ่งจะแจกด้วยวิภัตทั้ง๗แปลงรูปไปต่าง ๆเหมือนนามทั้ง๓ ไม่ได้ (จากบาลีไวยากรณ์).ส่วนคัมภีร์อื่นเช่น รูปฯแจกด้วยวิภัติทั้ง ๗ ได้บางศัพท์แต่รูปไม่เปลี่ยนแปลง.
อาคนฺตุกภตฺต : (นปุ.) ภัตอันบุคคลพึงให้แก่....ผู้จรมา.
ภตฺตการ ภตฺตการก : (ปุ.) คนหุงข้าว, พ่อครัว. วิ. ภตฺตํ กโรติ กริสฺสติ อกาสีติ ภตฺตกาโร ภตฺตการโก วา. ศัพท์หลัง ก สกัด.
ภตฺตการ : ป. คนทำอาหาร, พ่อครัว
ภตฺติ : (อิต.) การแบ่ง, การแจก, การให้, การให้ปัน. ภชฺ ภาชน-ทาเนสุ, ติ แปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ชฺ.
ภตฺตุ : (ปุ.) ผัว, ภัสดา, ภัศดา, ภรรดา. ภรฺโปสเน, ริตุ, แปลง รฺ เป็น ตฺ ลบ ริ หรือ แปลง ตุ เป็น ตฺตุ ลบ รฺ และ ลบ ริ. อภิฯ. รูปฯ ๕๕๙ ลง ตุ. ปัจ. แปลง รฺ เป็น ตฺ. ส. ภฺรตถุ.
กุมฺภตฺเถนก : ค. ผู้ลักด้วยหม้อ, ผู้ขโมยของโดยใช้หม้อเป็นเครื่องมือ (คือใช้ไฟจุดใต้หม้อ)
ภติ : (อิต.) การเลี้ยง, การเลี้ยงดู. ภรฺ โปสเน, ติ.
ภิติ ภีติ : (อิต.) ความกลัว, ฯลฯ. ติ ปัจ. ศัพท์ต้น รัสสะ อี เป็น อิ. ดู ภึสน.
ภีต : กิต. กลัวแล้ว
ภีติ : อิต. ความกลัว
ภี ภีติ : (อิต.) ความกลัว, ความขลาด, ความสะดุ้ง, ความสะดุ้งจิต. ภี ภเย, อ, ติ.
ภูต : (วิ.) ล่วงไปแล้ว, มีอยู่, เป็นอยู่, เสมอกัน, เท่ากัน, จริง, แท้.
ภูติ : (วิ.) มี, เป็น, มีอยู่, เป็นอยู่, เจริญ, รุ่งเรือง, มั่งคั่ง, สำเร็จ.
โภต โภตี : (วิ.) ผู้เจริญ. ภู สตฺตายํ. อนฺต ปัจ. เป็น ภวนฺต แปลงเป็น โภต ศัพท์หลังลง อี อิต.
โภติ : อ. แน่ะนางผู้เจริญ, แม่จำเริญ
ยถาภต : ก.วิ. ตามที่ถูกนำไปแล้ว
ยถาภุจฺจ, - ภูต : ค. จริง, แท้, ปรากฏ; ตามความเป็นจริง, สมควรเป็นจริง
เอกภตฺตกินี : ค. หญิงที่ซื่อสัตย์ต่อสามีคนเดียว
ภจฺจ : (ปุ.) สัตว์อันบุคคลพึงเลี้ยง, บ่าว, ไพร่, บ่าวไพร่, ข้าใช้, คนรับใช้, คนใช้, อำมาตย์. วิ. ภรียตีติ ภจฺโจ. ภรฺ ธารณโปสเนสุ, ริจฺจปจฺจโย. ลบ รฺ, รฺ และ อิ. ภริตพฺโพติ วา ภจฺโจ. รูปฯ ๕๔๒. โมคฯ ลง ย ปัจ. แปลงเป็น จฺจ ลบ รฺ อีกอย่างหนึ่งว่ามาจาก ภต ศัพท์ แปลง ต เป็น จ ซ้อน จฺ ว่านน้ำ ก็แปล.
กึกร กึการ : (ปุ.) คนใช้ (คนรับใช้), ทาส, บ่าว. วิ. กิญฺจิ กโรตีติ กึกโร กึกาโร วา. กึปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ, โณ. อห มชฺช กึ กริสฺสามีติ ภตฺตุ กตฺตพฺพกิจฺจยาจนตฺตา วา กึกาโร. ส. กึกร กิงฺกร.
เครุกา : (อิต.) สีเหลือง อุ. ผรุสาย ภตฺติยา เครุกา น ปตติ. สีเหลืองไม่จับที่ฝาหยาบ.
จาตุมฺมหาราชิก : (วิ.) (เทวดา) ชั้นจาตุมมหา- ราช วิ. จาตุมฺมหาราเชสุ ภตฺติ เอเตสนฺติ จาตุมฺมหาราชิกา ( ผู้ภักดีในท้าวมหาราช ทั้งสี่องค์ ). รูปฯ ๓๖๐. จาตุมฺมหาราเชสุ ถตฺตา เอเตสนฺติ จาตุมฺมหาราชิกา ( ผู้รับ ใช้ในท้าวมหาราชทั้งสี่องค์). โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๒ ณิกปัจ. สกัด.
นนนฺทา : (อิต.) พี่น้องหญิงของผัว วิ. สามิโน ภตฺตุ ภคินี นนนฺทา นาม. น นนฺทคตีติ วา นนนฺทา. นปุพโพ, นนฺทฺ สมิทฺธิยํ, อ. ไม่แปลง น เป็น อ เป็น ปกติสนธิ.
ภตก : (ปุ.) ชนผู้บริโภคซึ่งค่าจ้าง, ลูกจ้าง, คนรับใช้ คนใช้. วิ. ภตึ ภุญฺชตีติ ภตโก. ภติ ก ปัจ. แปลง อิ เป็น อ อภิฯ.
อญฺชลิ อญฺชลี อญฺชุลี : (ปุ.) การประนมมือ, การไหว้ (ส่วนใหญ่ใช้ในความหมายว่า ประนมมือ), ประนมมือ, กระพุ่มมือ, กระพุ่มมืออันรุ่งโรจน์โดยยิ่ง, อัญชลี, อัญชุลี, ชุลึ (ตัด อัญ ออก). วิ. อญฺเชติ ภตฺติ มเนน ปกาเสตีติ อญฺชลิ อญฺชลี วา, อญฺชฺ ปกาสเน, อลิ, อลี. สนามหลวง แผนกบาลี ปี ๒๕๑๗ เฉลยเป็น อิต. ส. อญฺชลิ.