ปฏิพิมฺพ : นป. รูปเปรียบ, รูปเหมือน, ภาพ, เงา
ภาว : (วิ.) มี, เป็น อุ. มูลภาว เป็นรากเหง้า, ปรากฏ, เกิด, เจริญ, สรรเสริญ.
สุสูภาพ : (วิ.) ดำสนิท
อตฺตภาว : (ปุ.) ขันธปัญจกเป็นแดนเกิดแห่งอัสมิมานะว่าอันว่าตน, กายอันเป็นแดนเกิดแห่งนนามว่าอันว่าตน, ความเป็นแห่งตน, กาย, ร่างกาย, รูป, อัตภาพ (ลักษณะความเป็นตัวตน), อาตมภาพ (อาดตะมะภาพ)เป็นคำพูดแทนตัวพระสงฆ์ซึ่งใช้พูดกับผู้มีศักดิ์, อาตมา (อาดตะมา)เป็นคำแทนตัวพระสงฆ์ตรงกับคำว่าฉันข้าพเจ้าใช้พูดกับคนทั่วไปทั้งชายและหญิง. ส. อาตฺมภาว.
เอกภาว : (ปุ.) ความเป็นหนึ่ง, ความเป็นอัน เดียวกัน. เอกภาว ไทยนำมาใช้ว่าเอกภาพ (แปลง ว เป็น พ) และออกเสียงว่า เอกกะภาพ ในความหมายว่า ความเป็น อันหนึ่งอันเดียวกัน ความสอดคล้อง กลมกลืนกัน.
ตุณฺหีภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความนิ่ง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้นิ่ง, ความเป็น ผู้นิ่ง. วิ. ตุณฺหิสฺส ภาโว ตุณฺหีภาโว. ตุณฺหี ภวนํ วา ตุณฺหีภาโว. ไทยใช้ ดุษณีภาพ หมายถึง อาการนิ่งที่แสดงอาการยอมรับ.
เทวานุภาว : ป. อานุภาพของเทวดา, เทวานุภาพ
พุทฺธานุภาว : ป. พุทธานุภาพ, อานุภาพของพระพุทธเจ้า
มโนภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งใจ, ความปรากฏในใจ, มโนภาพ คือ ความคิดเห็นเป็นภาพขึ้นในใจ.
อิสฺสรภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งชนผู้เป็นใหญ่, ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่, ความเป็น ใหญ่, อิสสรภาพ อิสรภาพ (ความเป็น ใหญ่ในตัวเอง ความไม่ขึ้นแก่ใคร).
จปุจปุ : (วิ.) จับๆ (จั๊บๆ). เสียงที่เกิดจากการเคี้ยวอาหารโดยมิได้หุบปาก ทาง พุทธศาสนาถือว่าเป็นกิริยาที่ไม่สุภาพ สุ ภาพชนไม่ควรทำ.
จิตฺตกมฺม : (นปุ.) การทำให้งาม, กรรมอันงาม, กรรมอันวิจิตร,จิตรกรรม.ไทยใช้จิตรกรรม ในความหมายว่า ศิลปการวาด เขียนศิลป การวาดภาพ ภาพเขียนที่สวยงาม.
จิตฺตกร : (ปุ.) คนผู้ทำให้วิจิตร, ช่างเขียน, ช่าง วาดเขียน, ช่างวาดภาพ, จิตรกร. วิ. จิตฺตํ กโรตีติ จิตฺตกโร. จิตฺตปุพโพ, กรฺ กรเณ, อ.
จิตฺตสาลา : อิต. ศาลาอันวิจิตร, ศาลาที่มีภาพเขียนสวยงาม, โรงแสดงภาพ
จิตฺตาคาร : นป. เรือนอันวิจิตร, เรือนที่มีภาพเขียนสวยงาม, อาคารแสดงภาพ
จิตฺตาคาร จิตฺราคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนอันสวย งาม, ห้องภาพ.
จินฺตนาการ : (ปุ.) คลองแห่งความคิด, อาการ คือความคิด, การสร้างภาพขึ้นในใจ วิ. จินฺตนายํ ภาวํ อุกาโร ( การทำขึ้น การ สร้างขึ้น ) จินฺตนากาโร.
ทกฺขิโณทก : (นปุ.) น้ำอันบุคคลพึงให้เพื่อทาน สมบัติอันเจริญ, ทักขิโณทก, ทักษิโณทก. เดิมคำนี้เป็นชื่อของน้ำที่เจ้าภาพถวายแด่ พระก่อนจะฉันภัตตาหาร เพื่อใช้บ้วนปาก ล้างมือหรือชุบมือ ( กรณีฉันด้วยมือ ) แต่ปัจจุบันนี้หมายถึงน้ำที่เจ้าภาพหลั่ง ( เทให้ใหลลงช้าๆ โดยไม่ขาดสาย ) เวลา ทำบุญ เพื่ออุทิศส่วนกุศลแด่ผู้ล่วงลับไป แล้ว หรือเป็นชื่อของน้ำที่เจ้าของสิทธิ์ หลั่งลง เป็นการแสดงการมอบของที่ไม่ สามารถยกได้ให้เป็นสิทธิ์ขาด อีกอย่าง หนึ่ง เป็นชื่อของเต้าน้ำ ราชาศัพท์ใช้ว่า พระเต้าษิโณทก คำกลอนมักตัดทักออก ใช้ว่า ษิโณทก.
อมรตฺต : นป. ความเป็นคืออันไม่ตาย, อมฤตภาพ
อาเลข : ป. การวาด, ภาพวาด
อิตฺถตฺต : นป. ๑. ภพนี้, ชาตินี้;
๒. สตรีภาพ, ความเป็นหญิง
อิตฺถีรูปก : (นปุ.) ภาพของหญิง, ภาพหญิง, รูปหญิง.
อนุภาวอานุภาว : (ปุ.) อำนาจ, กำลัง, อนุภาพ, อานุภาพ (ความสง่า).ส. อนุภาว.
อนุภาว อานุภาว : (ปุ.) อำนาจ, กำลัง, อนุภาพ, อานุภาพ (ความสง่า). ส. อนุภาว.
อาตปาภาว : (ปุ.) ความไม่มีแห่งแดด, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณเงาที่ไม่มีแดด).อาตป+อภาว.
อานุภาว : (ปุ.) การเจริญตาม, ความเจริญตาม, อานุภาวะ.ไทยอานุภาพคืออำนาจฤทธิ์เดชความยิ่งใหญ่กำลังพลังพลังใหญ่, ความสง่า.วิ.อนุตํสมงฺคินํภาเวติวฑฺ-เฒตีติ อนุภาโว. อนุภาโว เอว อานุภาโว.ส. อนุภาว.
กฏุกภาว : ป. ความขี้เหนียว
กณฺหภาวกร : ค. ซึ่งก่อให้เกิดสถานะเลว
กตภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่ง.............นั้น เป็น....อัน....ทำแล้ว, ความเป็นแห่ง....นั้น อัน...ทำแล้ว, ความเป็นแห่ง...อัน...ทำแล้ว.
กรณภาว : (ปุ.) ความเป็นคืออันทำ, ฯลฯ.
กลาปขณฺฑาทิภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งวัตถุมี ชิ้นกระเบื้องเป็นต้น.
กิเลสพนฺธนาภาว : (ปุ.) ความไม่มีแห่งวัตถุ เป็นเครื่องผูกคือกิเลส, ความไม่มีแห่ง เครื่องผูกคือ กิเลส.
กุฏิลภาว : ป. ความเป็นคนโกง, ความเป็นผู้มีนิสัยโกง
คติเฉกภาว : (ปุ.) ความฉลาดในการดำเนิน, ฯลฯ.
คหิตภาว : ป. ความที่แห่ง...อันเขาถือเอาแล้ว, ความยึดเอา
คุณภาว : (ปุ.) ความดี, ชั้นของความดี, ลักษณะของความดี, คุณภาพ.
โจกฺขภาว : ป. ความเป็นของสะอาด, สะอาด
ฐิติภาว : ป. ความเป็นแห่งการตั้งอยู่, ความเป็นผู้มั่นคง
ตถภาว : (ปุ.) ความที่แห่งสัจจธรรมนั้นเป็น ธรรมแท้, ความเป็นแห่งธรรมแท้, ความจริง, ความแท้.
ตถาภาว : (ปุ.) ความเป็นอย่างนั้น, ฯลฯ.
ตพฺภาว : ป. ความเป็นอย่างนั้น, ธรรมชาติที่เป็นจริง
ตรุณภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่ง....อ่อน, ฯลฯ.
ตาทิภาว : ป. ความเป็นผู้คงที่, ความเป็นเช่นนั้น
ติโรภาว : ป. การซ่อน, การปิดบัง, การอำพราง
ตุฏฺฐภาวมงฺกุภาววส : (ปุ.) ความสามารถ แห่งความเป็นแห่งบุคคลผู้ยินดีและความเป็นแห่งบุคคลผู้เก้อ, สามารถแห่งความเป็นผู้ยินดีและความเป็นผู้เก้อ.
ทฏฺฐภาว : ป. ความเป็นผู้ถูกกัด
ทนฺตภาว : ป. ความเป็นผู้มีตนอันฝึกฝนแล้ว, ภาวะที่ได้รับการฝึกหัดอบรมแล้ว
ทฺวิภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งของสองสิ่ง วิ. ทฺวินฺนํ ภาโว ทฺวิภาโว. ฉ. ตัป.
ทิพฺพภาว : ป. ภาวะที่เป็นทิพย์, ความเป็นของทิพย์