กุจฺฉิ : ป., อิต. ท้อง, ครรภ์, โพรง, ภายใน
อนฺโต : (อัพ. นิบาต) ในภายใน, ภายใน, ระหว่าง.
ภายน : (นปุ.) ความสะดุ้ง, ควาหวาด, ความกลัว. ภี ภเย, ยุ.
ขาทิตปีตนจฺจคีตวาทิตาทิ : (วิ.) มีวัตถุอันบุคคลเคี้ยวกินแล้วและวัตถุ (น้ำ) อันบุคคล ดื่มแล้วและเครื่องดนตรีมีอันฟ้อนและอันขับและอันประโคม เป็นต้น. เป็น อ. ทวัน. มี อ. ทวัน. และ ฉ. ตุล. เป็น ภายใน.
ฆรสปฺปชาติก : (วิ.) ผู้มีชาติแห่งงูผู้อาศัยซึ่ง เรือน เป็น อิก ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. มี ทุ. ตัป. และ ฉ. ตัป. เป็น ภายใน. ผู้ประกอบด้วย ชาติแห่งงูในเรือน เป็น ณิก ปัจ. ตรัต๎ยา- ทิตัท. มี ส. ตัป. และ ต.ตัป. เป็น ภายใน
เทฺวอสีติญาติกุลสหสฺส : (นปุ.) พันแห่งตระกูลแห่งพระญาติแปดสิบสองหน (แสนหกหมื่นตระกูล). เป็น อ. ทิคุ มี ฉ. ตัป., ฉ. ตัป. ผละ อ. ทิคุ เป็น ภายใน.
สมฺมสนญาณ : (นปุ.) ความรู้ในการพิจารณารูปและนามเป็นไตรลักษณ์, ญาณในการพิจารณารูปและนามโดยความเป็นไตรลักษณ์. การกำหนดขันธ์ ๕ คือ ...อาตยนะ ภายใน ๖ คือ ... และชาติโดยความเป็นของไม่เที่ยงโดยความเป็นทุกข์โดยความเป็นอนัตตา เรียกว่าสัมมสนญาณ ไตร. ๓๑ ข้อ ๙๙.
อชฺฌตฺติก : (วิ.) อันเป็นไปภายใน, มีในภายใน, เฉพาะตัว, ส่วนตัว, ภายใน.อชฺฌตฺติกาพาหิรอายตนะภายในและอายตนะภายนอก.
อินฺทฺริยสวร : (นปุ.) ความสำรวมซึ่งอินทรีย์, อินทรีย์สังวร คือการสำรวมอายตนะ ภายใน ๖.
โอร : (นปุ.) ฝั่งนี้, ฝั่งใน, ฟากฝั่งนี้, ภายใน. วิ. อวเร ตีเร เทเส ภวํ โอรํ. ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. โอรํ (อัพ, นิบาต) ฝั่งใน, ในฝั่งใน, ในฝั่งนี้, ในภายใน, ภายใน. ลงในอรรถสัตมี.
กรุณาเวคสมุสฺสาหิตมานาส : (วิ.) ผู้มีฉันทะ มีในใจอันกำลังแห่งกรุณาอันให้อุตสาหะ พร้อมแล้ว. เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ส ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ฉ. ตัป. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
กุจฺฉิฏฺฐ : (ปุ.) กุจฉิฏฐะ ชื่อลมภายในอย่างที่ ๓ ใน ๖ อย่าง, ลมในท้อง. วิ. กุจฺฉิมฺหิ ติฏฺฐตีติ กุจฺฉิฏฺโฐ. กุจฺฉิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, กฺวิ, ฏฺ สํโยโค.
โกฏฐพฺภนฺตร : นป. ภายในแห่งท้อง, ลำไส้
คนฺธมาลาทิหตฺถ : (วิ.) ผู้มีสักการะมีของหอม และดอกไม้เป็นต้นในมือ. เป็น ภินนา. พหุพ. มี อ.ทวัน. และ ฉ. ตุล. เป็นภายใน.
คนฺธสาลิตณฺฑุลภตฺต : (นปุ.) ภัตแห่งข้าวสาร แห่งข้าวสาลีมีกลิ่นหอม. เป็น ฉ. ตัป. มี ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. วิเสสนปุพ. กัม. และ ฉ. ตัป. เป็นภายใน.
คนฺธารกาสาววตฺถ : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ด้วยน้ำฝาดอันบังเกิดแล้วในเมืองคันธาระ. เป็นวิเสสนปุพ. กัม มี ณ ปัจ. ราคาทิตัท. และ ส. ตัป. เป็นภายใน.
คพฺภ : (ปุ.) ท้อง ชื่อส่วนของร่างกายด้านหน้า ตั้งแต่ลิ้นปี่ลงไปจนถึงบริเวณต้นขา มี สะดืออยู่กลางมีกระเพาะและใส้อยู่ภายใน เรียกได้ทั้งของผู้หญิงและของผู้ชาย, ครรภ์ เรียกเฉพาะของผู้หญิง. คุ สทฺเท, อโภ, อุสฺส อตฺตํ, ทฺวิตฺตํ (แปลง อุ เป็น อ แปลง ภ เป็น พฺภ). ครฺ วา เสจเน, อโภ. แปลง รฺ เป็น พฺ หรือตั้ง คพฺภฺ ธารเณ, อ.
คพฺภาสย : (ปุ.) มดลูก ชื่ออวัยวะภายในของ หญิงสำหรับตั้งครรภ์. วิ. คพฺโภ อาสเต ติฏฺฐตฺยเตรฺติ คพฺภาสโย (อวัยวะเป็นที่ เข้าไปดำรงอยู่ของสัตว์ผู้เกิดในครรภ์).
คามเขตฺตทฺวิปทจตุปฺปทยานวาหน : (นปุ.) บ้านและนาและสัตว์มีเท้าสองและสัตว์ มีเท้าสี่และยานพาหนะเป็น อ. ทวัน. มี ฉ.ตุล. และ ฉ.ตุล. เป็ยภายใน. ศัพท ปท นั้นใช้ ปาท ก็ได้.
คุมฺพนฺตร : นป. ภายในพุ่มไม้; หมู่ไม้
ฆราวาสพนฺธน : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องผูกคือ การอยู่ครอบครองซึ่งเรือน เป็น อว.ตัป มี ทุ.ตัป. เป็นภายใน.
จกฺกวาลคพฺภ : ป. ห้องแห่งจักรวาล, ภายในจักรวาล
เจติยคพฺภ : ป. ห้องแห่งเจดีย์, ห้องเจดีย์, บริเวณภายในองค์เจดีย์
เจติยงฺคณสมฺมชฺชนคนฺธมาลาทิกิจฺจ : (นปุ.) กิจ มีอันกวาดซึ่งลานแห่งเจดีย์และอันบูชาด้วย วัตถุมีของหอมและระเบียบเป็นต้น เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ฉ. ตัป., ส. ทวัน., ฉ. ตุล., ฉ. ตัป., ส. ทวัน,และฉ.ตุล.เป็นภายใน
ชลาพุ : (ปุ.) มดลูก (อวัยวะภายในของสตรี อันเป็นที่ตั้งครรภ์) วิ. ชรํ เอตีติ ชลาพุ. ชราปุพฺโพ, อิ คติยํ, อุ แปลง รา เป็น ลา อิ เป็น เอ เอ เป็น อย ย เป็น พ.
ทกฺขิณานุปทาน : (นปุ.) การเพิ่มให้ซึ่ง ทักษิณา, ทักขิณานุปทาน ทักษิณา- นุปทาน คือ การทำบุญอุทิศส่วนกุศลเพิ่ม ให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้วหรือการทำบุญทุกๆ เจ็ดวัน นอกจากเจ็ดวันแรก ก่อนครบ ๕๐ วัน มักทำเป็นการภายในไม่บอกแขก.
ทฺวตฺตีสมหาปุริสลกฺขณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) ประดับเฉพาะแล้วด้วยลักษณะของมหาบุรุษสามสิบสองประการ (คำประการเป็นคำเหน็บเข้ามา). เป็น ต. ตัป. มี วิเสสน บุพ. กัม, ฉ. ตัป และ ส. ทิคุ. เป็นภายใน.
ทสพลจตุเวสารชฺชาทิสพฺพคุณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) (พระสัพพัญญุตาญาณ) อันประดับเฉพาะแล้วด้วยคุณทั้งปวงมีญาณแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีกำลังสิบและญาณคือ ความเป็นแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีความครั่นคร้ามไปปราศแล้วสี่เป็นต้น. เป็น ต. ตัป. มี ฉ. ตุล., ฉ.ตัป., ฉ. ตุล., ณฺยปัจ. ภาวตัท., ส.ทิคุ., อว.กัม., อ.ทวัน., วิเสสนบุพ. กัม. ฉ..ตุล. และ วิเสสนบุพ. กัม. เป็นภายใน. ลบ ญาณ ทั้งสองศัพท์.
ทิยฑฺฒโยชนสติกมคฺค : (ปุ.) ทางอัน ประกอบแล้วด้วยร้อยแห่งโยขนืที่สองทั้ง กึ่ง, ทางอันประกอบด้วยร้อยห้าสิบโยชน์, ทางหนึ่งร้อยห้าสิบโยชน์. เป็น วิเสสน-บุพ. กัม มี ฉ. ตัป., วิเสสหบุพ. กัม. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
ทิยฑฺฒสหสฺสนาฏกิตฺถีปริวาร : (วิ.) มีหญิง ฟ้อนมีพันที่สองทั้งกึ่งเป็นประมาณเป็นบริวาร. เป็น ฉ. ตัป. มี วิเสสนบุพ. กัม., วิเสสนบุพ. กัม., ฉ. ตุล., และ วิเสสนบุพ. กัม. เป็นภายใน.
ทุกฺขปริชานนาทิกิจฺจ : (นปุ.) กิจมีอัน กำหนดรู้ซึ่งทุกข์เป็นต้น. เป็นวิเสสนบุพ. กัม. มี ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นภายใน.
ธมฺมปทภาณกมหาติสฺสตฺเถร : (ปุ.) พระ เถระชื่อว่าติสสะผู้ใหญ่ผู้กล่าววึ่งบทแห่งธรรม. เป็นวิเสสนปุพ. กัม. มี สัม กัม., วิเสสนบุพ. กัม. , ฉ.ตัป. และ ทุ.ตัป. เป็นภายใน.
ธมฺมวิจย : (วิ.) ผู้เลือกเฟ้นวึ่งธรรม, ผู้ค้นคว้าซึ่งธรรม, ผู้คัดเลือกซึ่งธรรม. วิ. ธมฺมํ วิจินาตีติ ธมฺมวิจโย. ผู้เลือกเฟ้นซึ่งธรรมอันเป็นไปภายในและภายนอกอันเป็นภูมิของวิปัสสนา วิง วิปสฺสนาย ภูมิภุเต อชฺฌตฺตพิหิทฮชฺธา ธมฺมเม วิจินาตีติ ธมฺมวิจโย. ธมฺม+วิ+จิ+อปัจง แปลง อิ เป็น เอ เอ เป็น อย. รูปฯ ๕๕๒
นงฺคลสีสมตฺตขนฺธ : (วิ.) มีลำต้นมีงอนแห่ง ไถเป็นประมาณ. เป็น ฉ.ตุล. มี. ฉ.ตัป. และ ฉ.ตุล เป็นภายใน.
นวสปฺปิสงฺขตขีรยาคุ : (อิต.) ข้าวยาคูอัน บุคคลต้มแล้วด้วยน้ำนมอันปรุงแล้วด้วย เนยใสใหม่. เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ต ตัป., วิเสสนบุพ. กัม. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
ปฏิปฺปสฺสทฺธิ : อิต. ความสงบระงับ, ความสงบเยือกเย็นภายในจิตใจ
ปทุมคพฺภ : ป. ห้องแห่งดอกบัว, ช่องภายในกลีบของดอกบัว; กลีบบัว
มคฺคผลนิพฺพานสุข : (นปุ.) สุขอันเกิดแล้วแต่มรรคและสุขอันเกิดแล้วแต่ผลและสุข คือพระนิพพานง เป็น อ. ทวัน. มี ปญฺจ. ตัป.,ปญฺจ.ตัป. และ อว.กัม. เป็นภายใน.
สนฺตรพาหิร : ค. ภายในและภายนอก
สุปุปฺผิตตรุณวนสณฺฑมณฺทิต : (วิ.) (ป่าท.) อันประดับแล้วด้วยชัฎแห่งป่าแห่งต้นไม้ มีดอกอันบานดีแล้วและต้นไม้มีดอกอ่อน. เป็น ต.ตัป. มี ฉ. ตัป. วิเสสนบุพ. กัม. ฉ. ตุล. ฉ. ตุล. อ. ทวัน. และ ฉ. ตัป. เป็นภายใน.
หิรินิเสธ : (วิ.) ผู้เกลียดกันซึ่งอกุศลวิตกด้วยหิริ วิ. อกุสสวิตกฺกํ หิริยา นิเสเธตีติ หิรินิเสโธ. ผู้เกลียดกันซึ่งอกุศลวิตกอันเกิดขึ้นแล้วในภายในด้วยหิริ วิ. อนฺโต อุปฺปนฺนํ อกุสลวิตกฺกํ หิริยา นิเสเธตีติ หิรินิเสโธ.
อชฺฌตฺต : (วิ.) อันเป็นไปทับซี่งตน, อันเป็นไปในภายใน, ทับตน, เฉพาะตัว, ส่วนตัวภายใน, อาศัยซึ่งจิตเป็นไป. แปลอตฺตว่าจิต.
อชฺฌตฺต : (อัพ. นิบาต) ในภายใน.
อชฺฌาคาเร : ก.วิ. ภายในบ้านของตน
อนฺตราล, อนฺตราฬ : นป. ภายในระหว่าง, ระหว่างการหยุดพัก
อนฺตริกา : อิต. ภายในระหว่าง, ช่อง
อนฺเตปุร : (นปุ.) ภายในแห่งบุรี, ภายในแห่งเรือนหลวง, ภายในพระราชวัง, ห้องพระมเหสี, ห้องพระสนม.วิ.อนฺเตปุรํเคหํอนฺเตปุรํ.ปุรสฺสอนฺเตอนฺเตปุรํเคหํอนฺเตปุรํ.ปุรสฺสอนฺเตอนฺเตปุรํ.เป็นอนฺโตปุรํ.โดยแปลงอที่ต เป็นโอบ้างส.อนฺเตปุร.
อนฺเตวาสิก : (ปุ.) ชนผู้มีความอยู่ในภายในเป็นปกติ, ศิษย์, อันเตวาสิกคือผู้ที่ตนสวดให้ในคราวอุปสมบทหรือผู้ที่ตนสอนวิชาให้.วิ.อนฺเตวาสิโก.อนฺเตวาสิโกส. อนฺตวา-สินอนฺเตวาสิน.
อนฺเตวาสิกวาส : (ปุ.) คนผู้มีการอยู่ในภายในเป็นปกติ, คนผู้มีปกติอยู่ในภายใน, ศิษย์. วิ. อาจริยสฺส อนฺเต สมีเป วสนสีโล อนฺเตวาสี.อนฺเต วาวาสีอนฺเตวาสี.ส. อนฺเตวาสินฺ.
อนฺโตกุจฺฉิ : ป. อิต. ภายในท้อง